ใช้ลูกปืนเม็ดกลมโลหะ โทรเลย "085-111-1826, 085-111-1827, 085-111-1828"
โดยทั่วไปแก้ไขให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ISO 9001 : 2008 โดยเรียบเรียงเนื้อหา
และถ้อยคำให้ชัดเจน เข้าใจง่าย และยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมได้
รายละเอียดการเปลี่ยนแปลงดังนี้
1. การยกเว้นข้อกำหนดข้อ 4.1กระบวนการรับจ้างช่วง Outsource และข้อ 7.3 การออกแบบ
และการพัฒนา ไม่มีกระบวนการที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับกิจกรรมดังกล่าว ดังนั้นจึงไม่ได้นำมา
ประยุกต์ใช้ในกระบวนการ
2. การดูแลสภาพแวดล้อมในการทำงานรายละเอียดเป็นไปตาม"คู่มือระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม&ส."
EM-QMR-002
3. การควบคุมทรัพย์สินของลูกค้า รายละเอียดตาม "การทบทวนการสั่งซื้อของลูกค้า" SP-SAL-001
4. เพิ่มเนื้อหาเรื่องความสามารถ และการฝึกอบรมโดยกำหนดความสามารถที่ต้องการ และแนวทาง
การสร้าง ความสามารถรายละเอียดเป็นไปตาม "การสรรหาบุคลากร และการอบรม" SP-PER-001
5. เพิ่มเนื้อหาโดยเน้นการทบทวนความมีประสิทธิผล ของกิจกรรมต่างๆ เช่น NC./CCR./CAR./PAR.
วันศุกร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2555
ข้อกำหนดระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2008 บทที่ 8
บทที่ 8. การวัด การวิเคราะห์ และ การปรับปรุง
8.1 บททั่วไป องค์กรต้องมีการวางแผนงาน และนำไปดำเนินการตามแผน
ในที่นี้อาจใช้แผนคุณภาพ เข้ามาช่วยโดยแสดงให้เห็นถึง
- a ความสอดคล้องตามข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
สูงสุดแก่ลูกค้า (ข้อตกลงร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย)
- b การนำระบบบริหารคุณภาพไปปฏิบัติ ซึ่งกระบวนการเหล่านั้นต้องได้รับการ
ควบคลุมให้สอดคล้องตามข้อกำหนด
- c นำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ไปปรับปรุงขั้นตอน และวิธีปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
การดำเนินการตามแผนคุณภาพ หรือ ตามขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ ต้องระบุขั้นตอน/เกณฑ์
การปฏิบัติที่เหมาะสม เป็นต้น
8.2 การเฝ้าติดตาม และ การวัด
8.2.1 ความพึงพอใจของลูกค้า องค์กรจัดทำ "การรับข้อร้องเรียนของลูกค้า" SP-SAL-002
ซึ่งแสดงถึงขั้นตอนในการสำรวจความพึงพอใจของลูกค้า กระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติ
อาจใช้แบบสอบถาม เกี่ยวกับหัวข้อต่างๆ เช่น คุณภาพ,ราคา,การบริการ เพื่อประเมิน
เป็นคะแนน และนำข้อมูลไปวิเคราะห์หาสาเหตุ ในที่ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร
8.2.2 การตรวจติดตามภายใน องค์กรต้องกำหนดช่วงเวลาสำหรับการตรวจประเมินภายใน
อาจกำหนดไว้ปีละ 2 ครั้ง ตามความเหมาะสม QMR. จัดทำแผนการตรวจประจำปี
กำหนดขอบเขตการตรวจว่าจะตรวจอะไร ที่ไหน อย่างไร ซึ่งการตรวจนิยมใช้เช็คลิสต์
เข้ามาช่วยในการตรวจ รายการคำถามต่างๆ หลักๆ ได้จากข้อกำหนด เพื่อชี้บ่งว่าทำตาม
ข้อกำหนด ครบถ้วนหรือไม่ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเพียงใด หรือคำถามอาจได้จาก
(แผนที่วางไว้ในข้อ 7.1) องค์กรจัดทำระเบียบปฏิบัติเรื่อง "การตรวจประเมินคุณภาพภายใน"
SP-QMR-003 ซึ่งระบุขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ โดยระบุเกณฑ์การตรวจประเมิน วิธีการแต่งตั้ง
auditor ความเป็นอิสระต่อหน่วยงานที่ตรวจ ระบุถึงวิธีการแก้ไขข้อบกพร่องที่พบ และรายงาน
ผลการติดตามการแก้ไขซึ่งองค์กรใช้ CAR เข้ามาช่วยในการดำเนินกิจกรรม และเก็บบันทึกไว้
8.2.3 การเฝ้าติดตามและการวัดกระบวนการ การวัดกระบวนการในระบบบริหารคุณภาพ ต้องแสดง
ให้เห็นถึงความสามารถที่จะบรรลุผลตามที่ได้วางแผนไว้ตาม 4.1 ข้อกำหนดทั่วไป ซึ่งครอบ
คลุมทุกกระบวนการ เพื่อป้องกันการเกิดซ้ำวิธีปฏิบัติอาจใช้วิธีการทางสถิติ อัตราของ
เปอร์เซ็นต์สูญเสีย เข้ามาช่วยอธิบายถึงความสามารถ และนำผลเข้าที่ประชุมทบทวน
8.2.4 การเฝ้าติดตามและการวัดผลิตภัณฑ์ องค์กรต้องตรวจวัดผลิตภัณฑ์ เพื่อทวนสอบคุณภาพ
ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของลูกค้า ที่ได้วางแผนไว้ตามแผนคุณภาพ ข้อ 7.1 บันทึกการตรวจ
สอบทั้งหมด ต้องแสดงถึงผู้มีอำนาจในการอนุมัติปล่อยผ่านผลิตภัณฑ์ และต้องเก็บรักษาไว้
(การควบคุมบันทึก 4.2.4 ) การอนุมัติปล่อยผ่านนี้ต้องทำหลังจากการตรวจสอบสิ้นสุดลง
ตามแผนที่กำหนดไว้ และผลต้อง "ผ่าน" เท่านั้น
8.3 การควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด องค์กรได้จัดทำระเบียบปฏิบัติ เรื่อง "
การควบคุมผลิตภัณฑ์ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด (NC)" SP-PRO-002 ซึ่งกำหนดขั้นตอนวิธีการ
ชี้บ่ง และควบคุม เพื่อป้องกันการนำไปใช้ และสืบหาสาเหตุที่แท้จริงเพื่อป้องกันการเกิดซ้ำ
ผลิตภัณฑ์ ”NC” ที่ได้ชี้บ่งไว้แล้ว จะต้องถูกจัดการด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
- ทำลายผลิตภัณฑ์เหล่านั้นให้หมดไป อาจโดยขายเป็นของตำหนิ ขายเป็นเศษเหล็ก
ตามเหมาะสม เป็นต้น
- ปล่อยผ่านหรือส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้า แต่มีข้อแม้ว่าต้องได้รับการอนุมัติจากผู้มีอำนาจ
หรือ จากลูกค้า ตามตกลง
- ทำป้ายห้ามเคลื่อนย้าย หรือป้ายชี่บ่งเพื่อป้องกันการนำ NC ไปใช้ก่อนได้รับการอนุมัติ
- ดำเนินการที่เหมาะสมต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น กรณีผลิตภัณฑ์ NC ถูกตรวจพบภายหลัง
การส่งมอบ หรือนำไปใช้แล้ว
*** ผลิตภัณฑ์ NC ที่ได้รับการแก้ไขแล้ว ต้องดำเนินการตรวจสอบซ้ำที่ซึ่งแสดงให้เห็นถึง
ผลการ ตรวจสอบผ่าน บันทึกเก็บไว้
8.4 การวิเคราะห์ข้อมูล องค์กรจะทราบถึงประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ของระบบบริหารคุณภาพ
เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องต้องอาศัยการวางแผน เก็บข้อมูลดิบ และนำไปทบทวน
วิเคราะห์ข้อมูล โดยทั่วไปควรใช้สถิติเข้ามาช่วย ข้อมูลที่นำมาวิเคาะห์นั้นได้จาก ผลการเฝ้า
ติดตาม การวัด และจากแหล่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อยต้องเกี่ยวข้องกับหัวข้อต่อไปนี้
- ความพึงพอใจของลูกค้า (8.2.1) ข้อมูลดิบที่เราดูได้ตรงๆ ก็คือ ลูกค้าแต่ละรายพอใจมากหรือน้อย
แค่ไหน ต้องพิจารณาดูหลายๆทาง เช่น ลูกค้าโดยรวมพอใจหัวข้อไหน มากที่สุด/น้อยที่สุด
แนวโน้มความพึงพอใจของลูกค้าแต่ละรายเป็นอย่างไรน้อยลงเรื่อยๆ ในแต่ละครั้งหรือไม่
ทำให้มองออกว่าควรจะปรับปรุงหัวข้อไหน อย่างไร (สำรวจความพึงพอใจปีละ 1 ครั้ง)
- ความสอดคล้องต่อข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ (8.2.4) ข้อมูลดิบก็คือรายงานจาก QC จะมองเห็น
ได้แค่ Lot นี้ ผ่าน หรือไม่ผ่าน แต่ถ้านำข้อมูลมาวิเคราะห์ จะทำให้มองเห็นสิ่งต่างๆ เช่น ของเสีย
เกิดจากอะไรมากที่สุด เห็นสิ่งที่ต้องปรับปรุงได้ชัดเจน
- ลักษณะเฉพาะ และแนวโน้มของ กระบวนการ และผลิตภัณฑ์ รวมถึง โอกาสในการป้องกันสิ่งที่
ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดอาจจะนำข้อมูล มาจากการตรวจวัดกระบวนการ (8.2.3) มาวิเคราะห์ถึงขีด
ความสามารถของกระบวนการว่ามีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงเมื่อเวลาผ่านไป สามารถทำให้
มองเห็นช่องทาง และโอกาสในการป้องกัน และปรับปรุงต่อไป
- ผู้ขาย เช่นกัน องค์กรต้องมีการประเมินผู้ขาย (7.4) เราก็นำข้อมูล "แบบประเมินผู้ขาย(แรกเข้า)"
FM-PUR-014"แบบประเมินผู้ขาย (ทบทวน)" FM-PUR-018 มาวิเคราะห์ในลักษณะเดียวกันกับ
ข้อมูลความพึงพอใจของลูกค้าซึ่งวิเคราะห์หาสิ่งที่สามารถทำให้เห็นช่องทางที่จะป้องกัน
เพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
8.5 การปรับปรุง
8.5.1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง องค์กรต้องปรับปรุงประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โดยใช้นโยบายคุณภาพ, วัตถุประสงค์คุณภาพ, ผลการตรวจติดตาม, การวิเคราะห์ข้อมูล, การ
ปฏิบัติการแก้ไขและป้องกัน และการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร ต้องนำเข้าที่ประชุมทบทวนฝ่าย
บริหารเพื่อสรุปถึงความเหมาะสม และสอดคล้อง ต่อข้อกำหนด เพื่อการปรับรุงอย่างต่อเนื่อง
(ข้อกำหนดนี้ทำให้มองเห็นภาพรวมของการปรับปรุง องค์กรต้อปฏิบัติ)
8.5.2 การปฏิบัติการแก้ไข องค์กรจัดทำระเบียบปฏิบัติเรื่อง "ปฎิบัติการแก้ไขและป้องกันการเกิดซ้ำ"
SP-QMR-001 โดย
- ระบุรายละเอียดความไม่สอดคล้องที่พบ หรือรายละเอียดอื่นๆ ลงใน CAR. ส่งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำมา
ประชุมทบทวนร่วมกัน เพื่อระบุถึงสาเหตุความไม่สอดคล้อง ซึ่งควรเป็นสาเหตุที่แท้จริง เพื่อที่จะ
ป้องกันได้ตรงจุด ไม่ให้เกิดซ้ำ
- กำหนดมาตรการแก้ไข ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาแล้วเสร็จที่ชัดเจน ซึ่งมาตรการแก้ไขนี้ต้องระบุขั้น
ตอนการปฏิบัติ ที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ และจะต้องนำไปปฏิบัติให้เกิดประสิทธิผล เพื่อไม่ให้เกิด
ซ้ำอีก
- QMR. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่เป็นอิสระจากหน่วยงานนั้น ต้องติดตามผลการแก้ไข พร้อมบันทึก
ผลการติดตามไว้
- นำผลการติดตามที่บันทึกไว้มาทบทวนถึงประสิทธิผล ของการแก้ไข หากพบว่าไม่มีการเกิดซ้ำอีก
ให้นำกระบวนการ หรือวิธีการขั้นตอนที่ได้ปฏิบัติมาทบทวนนำเข้าสู่กระบวนการทบทวนแก้ไข
เอกสาร ขั้นตอนการปฏิบัติงานต่อไป
*** มาตรการแก้ไขที่ได้ระบุไว้ใน CAR นั้น ต้องให้สมเหตุสมผลกับผลกระทบที่น่าจะเกิดขึ้นจากข้อ
บกพร่องที่พบ โดย ต้องมองที่ความสำคัญของปัญหา เช่น ข้อบกพร่องสำคัญชนิดอาจทำให้เกิด
ความเสียหายรุนแรง แต่แก้ไขโดยวิธี ให้หัวหน้างานตักเตือนพนักงานเพียงอย่างเดียว มันก็ไม่
ค่อยสมเหตุสมผลเท่าไหร่ การแก้ปัญหาน่าจะเข้มงวดกว่านี้
8.5.3 การปฏิบัติการป้องกัน องค์กรจัดทำระเบียบปฏิบัติเรื่อง "การป้องกัน" SP-QMR-002 เพื่อขจัด
สาเหตุที่ซ่อนแฝงอยู่เพื่อป้องกันการเกิดขึ้น การป้องกันต้องให้เหมาะสมกับผลกระทบของปัญหา
ที่อาจจะเกิดขึ้น การป้องกันนั้น ข้อบกพร่องยังไม่เกิดขึ้น แต่คาดว่าน่าจะเกิด (เช่น ดูแนวโน้มจาก
การวิเคราะห์ข้อมูลตามข้อกำหนด 8.4) จึงป้องกัน ไว้ก่อน โดย ระบุที่มาของแหล่งข้อมูล,
วิเคราะห์ระดับความเสี่ยง/ระดับความรุนแรง, รายละเอียดความไม่สอดคล้อง, วิเคราะห์สาเหตุที่
เป็นไปได้ถึงความจำเป็นในการป้องกัน, กำหนดมาตรการป้องกัน, ผู้รับผิดชอบ, ระยะเวลาแล้ว
เสร็จ,QMR. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่เป็นอิสระจากหน่วยงานนั้น ต้องติดตามผลการป้องกัน
พร้อมบันทึกผลการติดตามไว้
- นำผลการติดตามที่บันทึกไว้มาทบทวนถึงประสิทธิผล ของการป้องกัน หากพบว่ามีประสิทธิผลให้
นำกระบวนการ หรือวิธีการขั้นตอนที่ได้ปฏิบัติมาทบทวนนำเข้าสู่กระบวนการทบทวนแก้ไข เอกสาร
ขั้นตอนการปฏิบัติงานต่อไป ขอบคุณสำหรับข้อมูลอ้างอิง ตัวแทนฝ่ายบริหารระบบคุณภาพ
8.1 บททั่วไป องค์กรต้องมีการวางแผนงาน และนำไปดำเนินการตามแผน
ในที่นี้อาจใช้แผนคุณภาพ เข้ามาช่วยโดยแสดงให้เห็นถึง
- a ความสอดคล้องตามข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เกิดความพึงพอใจ
สูงสุดแก่ลูกค้า (ข้อตกลงร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย)
- b การนำระบบบริหารคุณภาพไปปฏิบัติ ซึ่งกระบวนการเหล่านั้นต้องได้รับการ
ควบคลุมให้สอดคล้องตามข้อกำหนด
- c นำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ไปปรับปรุงขั้นตอน และวิธีปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
การดำเนินการตามแผนคุณภาพ หรือ ตามขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ ต้องระบุขั้นตอน/เกณฑ์
การปฏิบัติที่เหมาะสม เป็นต้น
8.2 การเฝ้าติดตาม และ การวัด
8.2.1 ความพึงพอใจของลูกค้า องค์กรจัดทำ "การรับข้อร้องเรียนของลูกค้า" SP-SAL-002
ซึ่งแสดงถึงขั้นตอนในการสำรวจความพึงพอใจของลูกค้า กระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติ
อาจใช้แบบสอบถาม เกี่ยวกับหัวข้อต่างๆ เช่น คุณภาพ,ราคา,การบริการ เพื่อประเมิน
เป็นคะแนน และนำข้อมูลไปวิเคราะห์หาสาเหตุ ในที่ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร
8.2.2 การตรวจติดตามภายใน องค์กรต้องกำหนดช่วงเวลาสำหรับการตรวจประเมินภายใน
อาจกำหนดไว้ปีละ 2 ครั้ง ตามความเหมาะสม QMR. จัดทำแผนการตรวจประจำปี
กำหนดขอบเขตการตรวจว่าจะตรวจอะไร ที่ไหน อย่างไร ซึ่งการตรวจนิยมใช้เช็คลิสต์
เข้ามาช่วยในการตรวจ รายการคำถามต่างๆ หลักๆ ได้จากข้อกำหนด เพื่อชี้บ่งว่าทำตาม
ข้อกำหนด ครบถ้วนหรือไม่ มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเพียงใด หรือคำถามอาจได้จาก
(แผนที่วางไว้ในข้อ 7.1) องค์กรจัดทำระเบียบปฏิบัติเรื่อง "การตรวจประเมินคุณภาพภายใน"
SP-QMR-003 ซึ่งระบุขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติ โดยระบุเกณฑ์การตรวจประเมิน วิธีการแต่งตั้ง
auditor ความเป็นอิสระต่อหน่วยงานที่ตรวจ ระบุถึงวิธีการแก้ไขข้อบกพร่องที่พบ และรายงาน
ผลการติดตามการแก้ไขซึ่งองค์กรใช้ CAR เข้ามาช่วยในการดำเนินกิจกรรม และเก็บบันทึกไว้
8.2.3 การเฝ้าติดตามและการวัดกระบวนการ การวัดกระบวนการในระบบบริหารคุณภาพ ต้องแสดง
ให้เห็นถึงความสามารถที่จะบรรลุผลตามที่ได้วางแผนไว้ตาม 4.1 ข้อกำหนดทั่วไป ซึ่งครอบ
คลุมทุกกระบวนการ เพื่อป้องกันการเกิดซ้ำวิธีปฏิบัติอาจใช้วิธีการทางสถิติ อัตราของ
เปอร์เซ็นต์สูญเสีย เข้ามาช่วยอธิบายถึงความสามารถ และนำผลเข้าที่ประชุมทบทวน
8.2.4 การเฝ้าติดตามและการวัดผลิตภัณฑ์ องค์กรต้องตรวจวัดผลิตภัณฑ์ เพื่อทวนสอบคุณภาพ
ให้เป็นไปตามข้อกำหนดของลูกค้า ที่ได้วางแผนไว้ตามแผนคุณภาพ ข้อ 7.1 บันทึกการตรวจ
สอบทั้งหมด ต้องแสดงถึงผู้มีอำนาจในการอนุมัติปล่อยผ่านผลิตภัณฑ์ และต้องเก็บรักษาไว้
(การควบคุมบันทึก 4.2.4 ) การอนุมัติปล่อยผ่านนี้ต้องทำหลังจากการตรวจสอบสิ้นสุดลง
ตามแผนที่กำหนดไว้ และผลต้อง "ผ่าน" เท่านั้น
8.3 การควบคุมผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด องค์กรได้จัดทำระเบียบปฏิบัติ เรื่อง "
การควบคุมผลิตภัณฑ์ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด (NC)" SP-PRO-002 ซึ่งกำหนดขั้นตอนวิธีการ
ชี้บ่ง และควบคุม เพื่อป้องกันการนำไปใช้ และสืบหาสาเหตุที่แท้จริงเพื่อป้องกันการเกิดซ้ำ
ผลิตภัณฑ์ ”NC” ที่ได้ชี้บ่งไว้แล้ว จะต้องถูกจัดการด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
- ทำลายผลิตภัณฑ์เหล่านั้นให้หมดไป อาจโดยขายเป็นของตำหนิ ขายเป็นเศษเหล็ก
ตามเหมาะสม เป็นต้น
- ปล่อยผ่านหรือส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้า แต่มีข้อแม้ว่าต้องได้รับการอนุมัติจากผู้มีอำนาจ
หรือ จากลูกค้า ตามตกลง
- ทำป้ายห้ามเคลื่อนย้าย หรือป้ายชี่บ่งเพื่อป้องกันการนำ NC ไปใช้ก่อนได้รับการอนุมัติ
- ดำเนินการที่เหมาะสมต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น กรณีผลิตภัณฑ์ NC ถูกตรวจพบภายหลัง
การส่งมอบ หรือนำไปใช้แล้ว
*** ผลิตภัณฑ์ NC ที่ได้รับการแก้ไขแล้ว ต้องดำเนินการตรวจสอบซ้ำที่ซึ่งแสดงให้เห็นถึง
ผลการ ตรวจสอบผ่าน บันทึกเก็บไว้
8.4 การวิเคราะห์ข้อมูล องค์กรจะทราบถึงประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ของระบบบริหารคุณภาพ
เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องต้องอาศัยการวางแผน เก็บข้อมูลดิบ และนำไปทบทวน
วิเคราะห์ข้อมูล โดยทั่วไปควรใช้สถิติเข้ามาช่วย ข้อมูลที่นำมาวิเคาะห์นั้นได้จาก ผลการเฝ้า
ติดตาม การวัด และจากแหล่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อยต้องเกี่ยวข้องกับหัวข้อต่อไปนี้
- ความพึงพอใจของลูกค้า (8.2.1) ข้อมูลดิบที่เราดูได้ตรงๆ ก็คือ ลูกค้าแต่ละรายพอใจมากหรือน้อย
แค่ไหน ต้องพิจารณาดูหลายๆทาง เช่น ลูกค้าโดยรวมพอใจหัวข้อไหน มากที่สุด/น้อยที่สุด
แนวโน้มความพึงพอใจของลูกค้าแต่ละรายเป็นอย่างไรน้อยลงเรื่อยๆ ในแต่ละครั้งหรือไม่
ทำให้มองออกว่าควรจะปรับปรุงหัวข้อไหน อย่างไร (สำรวจความพึงพอใจปีละ 1 ครั้ง)
- ความสอดคล้องต่อข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ (8.2.4) ข้อมูลดิบก็คือรายงานจาก QC จะมองเห็น
ได้แค่ Lot นี้ ผ่าน หรือไม่ผ่าน แต่ถ้านำข้อมูลมาวิเคราะห์ จะทำให้มองเห็นสิ่งต่างๆ เช่น ของเสีย
เกิดจากอะไรมากที่สุด เห็นสิ่งที่ต้องปรับปรุงได้ชัดเจน
- ลักษณะเฉพาะ และแนวโน้มของ กระบวนการ และผลิตภัณฑ์ รวมถึง โอกาสในการป้องกันสิ่งที่
ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดอาจจะนำข้อมูล มาจากการตรวจวัดกระบวนการ (8.2.3) มาวิเคราะห์ถึงขีด
ความสามารถของกระบวนการว่ามีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงเมื่อเวลาผ่านไป สามารถทำให้
มองเห็นช่องทาง และโอกาสในการป้องกัน และปรับปรุงต่อไป
- ผู้ขาย เช่นกัน องค์กรต้องมีการประเมินผู้ขาย (7.4) เราก็นำข้อมูล "แบบประเมินผู้ขาย(แรกเข้า)"
FM-PUR-014"แบบประเมินผู้ขาย (ทบทวน)" FM-PUR-018 มาวิเคราะห์ในลักษณะเดียวกันกับ
ข้อมูลความพึงพอใจของลูกค้าซึ่งวิเคราะห์หาสิ่งที่สามารถทำให้เห็นช่องทางที่จะป้องกัน
เพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
8.5 การปรับปรุง
8.5.1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง องค์กรต้องปรับปรุงประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โดยใช้นโยบายคุณภาพ, วัตถุประสงค์คุณภาพ, ผลการตรวจติดตาม, การวิเคราะห์ข้อมูล, การ
ปฏิบัติการแก้ไขและป้องกัน และการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร ต้องนำเข้าที่ประชุมทบทวนฝ่าย
บริหารเพื่อสรุปถึงความเหมาะสม และสอดคล้อง ต่อข้อกำหนด เพื่อการปรับรุงอย่างต่อเนื่อง
(ข้อกำหนดนี้ทำให้มองเห็นภาพรวมของการปรับปรุง องค์กรต้อปฏิบัติ)
8.5.2 การปฏิบัติการแก้ไข องค์กรจัดทำระเบียบปฏิบัติเรื่อง "ปฎิบัติการแก้ไขและป้องกันการเกิดซ้ำ"
SP-QMR-001 โดย
- ระบุรายละเอียดความไม่สอดคล้องที่พบ หรือรายละเอียดอื่นๆ ลงใน CAR. ส่งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องนำมา
ประชุมทบทวนร่วมกัน เพื่อระบุถึงสาเหตุความไม่สอดคล้อง ซึ่งควรเป็นสาเหตุที่แท้จริง เพื่อที่จะ
ป้องกันได้ตรงจุด ไม่ให้เกิดซ้ำ
- กำหนดมาตรการแก้ไข ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาแล้วเสร็จที่ชัดเจน ซึ่งมาตรการแก้ไขนี้ต้องระบุขั้น
ตอนการปฏิบัติ ที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ และจะต้องนำไปปฏิบัติให้เกิดประสิทธิผล เพื่อไม่ให้เกิด
ซ้ำอีก
- QMR. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่เป็นอิสระจากหน่วยงานนั้น ต้องติดตามผลการแก้ไข พร้อมบันทึก
ผลการติดตามไว้
- นำผลการติดตามที่บันทึกไว้มาทบทวนถึงประสิทธิผล ของการแก้ไข หากพบว่าไม่มีการเกิดซ้ำอีก
ให้นำกระบวนการ หรือวิธีการขั้นตอนที่ได้ปฏิบัติมาทบทวนนำเข้าสู่กระบวนการทบทวนแก้ไข
เอกสาร ขั้นตอนการปฏิบัติงานต่อไป
*** มาตรการแก้ไขที่ได้ระบุไว้ใน CAR นั้น ต้องให้สมเหตุสมผลกับผลกระทบที่น่าจะเกิดขึ้นจากข้อ
บกพร่องที่พบ โดย ต้องมองที่ความสำคัญของปัญหา เช่น ข้อบกพร่องสำคัญชนิดอาจทำให้เกิด
ความเสียหายรุนแรง แต่แก้ไขโดยวิธี ให้หัวหน้างานตักเตือนพนักงานเพียงอย่างเดียว มันก็ไม่
ค่อยสมเหตุสมผลเท่าไหร่ การแก้ปัญหาน่าจะเข้มงวดกว่านี้
8.5.3 การปฏิบัติการป้องกัน องค์กรจัดทำระเบียบปฏิบัติเรื่อง "การป้องกัน" SP-QMR-002 เพื่อขจัด
สาเหตุที่ซ่อนแฝงอยู่เพื่อป้องกันการเกิดขึ้น การป้องกันต้องให้เหมาะสมกับผลกระทบของปัญหา
ที่อาจจะเกิดขึ้น การป้องกันนั้น ข้อบกพร่องยังไม่เกิดขึ้น แต่คาดว่าน่าจะเกิด (เช่น ดูแนวโน้มจาก
การวิเคราะห์ข้อมูลตามข้อกำหนด 8.4) จึงป้องกัน ไว้ก่อน โดย ระบุที่มาของแหล่งข้อมูล,
วิเคราะห์ระดับความเสี่ยง/ระดับความรุนแรง, รายละเอียดความไม่สอดคล้อง, วิเคราะห์สาเหตุที่
เป็นไปได้ถึงความจำเป็นในการป้องกัน, กำหนดมาตรการป้องกัน, ผู้รับผิดชอบ, ระยะเวลาแล้ว
เสร็จ,QMR. หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ที่เป็นอิสระจากหน่วยงานนั้น ต้องติดตามผลการป้องกัน
พร้อมบันทึกผลการติดตามไว้
- นำผลการติดตามที่บันทึกไว้มาทบทวนถึงประสิทธิผล ของการป้องกัน หากพบว่ามีประสิทธิผลให้
นำกระบวนการ หรือวิธีการขั้นตอนที่ได้ปฏิบัติมาทบทวนนำเข้าสู่กระบวนการทบทวนแก้ไข เอกสาร
ขั้นตอนการปฏิบัติงานต่อไป ขอบคุณสำหรับข้อมูลอ้างอิง ตัวแทนฝ่ายบริหารระบบคุณภาพ
ข้อกำหนดระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2008 บทที่ 7
บทที่ 7. การก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์
7.1 การวางแผนการก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ การสร้างผลิตภัณฑ์ หมายถึงกระบวนการทั้งหมดที่ก่อให้
เกิดมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์โดยตรง เช่น การออกแบบ, การจัดซื้อ, การผลิต ฯลฯ มีการวางแผน
และนำไปปฏิบัติ ซึ่งกระบวนการขั้นตอนเหล่านั้น องค์กรได้กำหนด และจัดทำเป็น "แผนคุณภาพ
(Quality Plan)" SD-PRO-010 ที่สอดคล้องกับข้อกำหนดอื่นๆ และไม่ขัดแย้งกันแผนนี้ จะทำให้
มองเห็นภาพรวมของการสร้างผลิตภัณฑ์ ว่าทำให้เกิดคุณภาพขึ้นได้อย่างไรสิ่งที่ต้องระบุในแผน
- a ต้องพิจารณาจากวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ขององค์กร ห้ามลอก หรือคิดเดาส่ง เพราะจะไม่
บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ต้องระบุลงไปในแผนคุณภาพ จะได้เห็น
ได้ชัดเจนว่าลูกค้าต้องการอะไร
- b ความจำเป็นในการจัดทำเอกสาร คือ ให้ระบุลงไปว่า กระบวนการหรือขั้นตอนต่างๆ มีเอกสาร
อะไรบ้างที่ใช้ควบคุม เช่น SP, WI, SD, FM การจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นโดย 4M คน, เครื่องจักร,
วัตถุดิบ วิธีการ อาจใช้หมายเลขอ้างอิงระบุในแผน
- c ระบุกระบวนการ ที่เกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบ/ทวนสอบ การอนุมัติการใช้ การเฝ้าติดตาม กำหนด
เกณฑ์ยอมรับ
- d ระบุถึงบันทึกต่างๆ ที่ใช้ อาจจะอ้างอิงเป็นหมายเลขแบบฟอร์ม หรือชื่อบันทึกลงในแผนตาม
ลำดับหน่วยงาน
หมายเหตุ : แผนในข้อ 7.1 ที่เรากำลังพูดถึงอยู่นี่เรียกรวมๆ ว่า “แผนคุณภาพ" ซึ่งแผนคุณภาพนี้
เป็นภาพกว้างๆ ที่ได้มาซึ่งคุณภาพ
7.2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า
7.2.1 การระบุข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ องค์กรได้กำหนดไว้ใน "การทบทวนการสั่งซื้อ
ของลูกค้า" SP-SAL-001 ดังนี้
- a สิ่งที่ลูกค้าต้องการ อาจดูจากใบสั่งซื้อ สเปค การจัดส่งที่รวดเร็ว บริการหลังการขาย เพื่อให้เกิด
ความพึงพอใจสูงสุด
- b สิ่งที่ลูกค้าไม่ได้กำหนด แต่องค์กรทราบว่าจำเป็นต้องมี เพื่อทำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ (ต้อง
ระบุตามความเหมาะสม)
- c สิ่งที่ขัดต่อกฏหมาย เช่นสารเคมีต้องห้าม เอกสารต้องห้าม ลักษณะการส่งมอบ ต้องมีการควบ
คุมและระบุไว้
- d สิ่งที่องค์กรพิจารณาว่ามีความจำเป็น ต้องระบุไว้ในเอกสาร
- e หมายเหตุ เกี่ยวกับกิจกรรมหลังการส่งมอบ เช่นเงื่อนไขการรับประกัน สัญญาต่างๆ เช่น บริการ
ซ่อมบำรุง เป็นต้น
7.2.2 การทบทวนข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ เชื่อมโยงกับข้อ 7.2.1 ต้องทบทวนข้อ
กำหนดก่อนการสั่งซื้อ หรือสั่งผลิตเช่น การเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายละเอียดคำสั่งซื้อที่ได้
ตกลงกันไว้ก่อนหน้า ความสามารถขององค์กร การส่งมอบต้องจัดทำบันทึกรายละเอียด ผล
ของการทบทวนเก็บไว้เพื่อยืนยันให้ทราบโดยทั่วถึงกันถึงผลการเปลี่ยนแปลง
ซึ่งองค์กรได้ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องประชุมร่วมกัน กรณีมีการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงต่างๆ
อย่างเป็นระบบ
7.2.3 การติดต่อกับลูกค้า องค์กรกำหนดให้ฝ่ายขายเป็นผู้ประสารงานกับลูกค้าเพื่อกำหนดความ
ต้องการที่แท้จริง โดย
- a ข้อมูลผลิตภัณฑ์ หมายถึง สเปค รายละเอียดวัติถุดิบ ฯลฯ และต้องระบุว่า
ใครเป็นผู้ส่ง/ผู้รับ วิธีจัดส่งอย่างไร
- b เอกสารเกี่ยวกับการสั่งซื้อ, การทบทวนข้อตกลง อ้างถึงข้อ 7.2.2 ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ประชุมร่วมกัน อย่างเป็นระบบ
- c กำหนดขั้นตอน และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลย้อนกลับจากลูกค้าไว้ใน "การรับข้อร้องเรียน
ของลูกค้า" FM-SAL-002
7.3 การออกแบบ และการพัฒนา (ยกเว้ณข้อกำหนด 7.3 - 7.3.7) องค์กรไม่ได้ออแบบเป็นสินค้า
มาตรฐาน
7.4 การจัดซื้อ
7.4.1 กระบวนการจัดซื้อ องค์กร มีระบบการคัดเลือกผู้ขาย การประเมิน และการประเมินซ้ำ การ
ตรวจรับของที่สั่งซื้อมีเกณฑ์ควบคุมคุณภาพวัติถุดิบหลัก สเปค, ความเข้มงวด โดย
พิจารณาตามความเหมาะสมให้สอดคล้องต่อข้อกำหนด ของลูกค้าตาม "การควบคุม
Supplier และการสั่งซื้อ" SP-PUR-001 และบันทึกผลการประเมิน ต้องจัดเก็บรักษาไว้
7.4.2 ข้อมูลการจัดซื้อ ต้องระบุรายละเอียดข้อมูลของผลิตภัณฑ์ที่องค์กรต้องการในใบสั่งซื้อให้
ละเอียด เพื่อใช้สื่อสารกับผู้ขาย ว่าองค์กรต้องการอะไร ซึ่งใบสั่งซื้อนี้ยังใช้เป็นข้อมูลยืนยัน
ในการตรวจรับผลิตภัณฑ์ ตามข้อ 7.4.3 การตรวจรับ ต้องมีการลงนามอนุมัติ ตามลำดับ
ความจำเป็น และความเหมาะสมของผู้ตรวจรับ ขอใบรับรองผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่จำเป็น
7.4.3 การทวนสอบผลิตภัณฑ์ที่จัดซื้อ องค์กรได้ระบุข้อกำหนดการสั่งซื้อไว้แล้วใน 7.4.1, 7.4.2
เราก็นำข้อกำหนดเหล่านั้น มาป็นเกณฑ์การตรวจสอบ โดยอาจจะทำเป็นมาตรฐานการตรวจ
สอบ ที่สามารถสอบกลับได้ถึงข้อมูลการสั่งซื้อ กรณีที่องค์กร หรือลูกค้าขององค์กรต้องการ
ไปทวนสอบที่สถานประกอบการของผู้ขาย ฝ่ายจัดซื้อต้อง ดำเนินการทั้งหมด
โดยประสานงานกับผู้ขาย ถึงเกณฑ์การทวนสอบ ระบุแผนงาน/วิธีการที่ชัดเจนว่าจะตรวจ
สอบอะไรใช้มาตรฐานใดอ้างอิง
7.5 การผลิต และการให้บริการ
7.5.1 การควบคุมการผลิต และการให้บริการ ข้อกำหนดนี้เน้นไปที่การผลิต และให้บริการ เราได้
วางแผนต่างๆ ไปแล้วใน 7.1
ที่เหลือก็คือ การปฏิบัติตามแผน องค์กรต้องแสดงให้เห็นว่า มีความพร้อมภายใต้สภาวะที่
ได้รับการควบคุม โดยองค์กรได้จัดทำ "แผนคุณภาพ" SP-PRO-010, "การวางแผน และการ
ควบคุมการผลิต" SP-PRO-001 และได้ควบคุมคุณภาพโดยกระบวนการ
NC/CCR/CAR/PAR กระบวนการควบคุมนี้ต้องครอบคลุมถึง (ตามความเหมาะสม)
- a) ข้อมูลที่อธิบายถึงคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ เช่น แบบวาดจากลูกค้า หรือเอกสารขั้นตอน
คุณสมบัติที่ลูกค้ากำหนด
- b) เอกสารวิธีการปฏิบัติงานที่จำเป็น เช่น SP, WI, SD, FM เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูก
ต้องตามมาตรฐาน โดยระบุเป็นรหัสเอกสารกำกับไว้ใน แผนคุณภาพ เพื่อเป็นตัวบอกว่าขั้น
ตอนนั้นๆ มีเอกสารแนะนำอะไรบ้าง
- c) การเลือกใช้อุปกรณ์/เครื่องจักร ต้องเหมาะสม เช่น เอกสารขั้นตอนการผลิตที่ระบุถึง การ
เลือกใช้เครื่องจักร/อุปกรณ์
- d) กำหนดขั้นตอนกระบวนการทวนสอบ/วิธีการใช้งานเครื่องมือวัด ที่ใช้เฝ้าติดตามคุณภาพ ที่
เหมาะสม
- e) กำหนดขั้นตอนกระบวนการตรวจวัดผลิตภัณฑ์ และการเฝ้าติดตาม ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
ได้ระบุไว้ในแผนคุณภาพ
- f) กำหนดขั้นตอนกระบวนการ ตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์ การส่งมอบ และกิจกรรมหลังการขาย เพื่อ
ให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด
สรุป : แผนคุณภาพที่ได้จัดทำขึ้น เพื่อแสดงขั้นตอนต่างๆ ควรจะมีคอลัมภ์ที่แสดงข้อมูลรายละเอียด
แต่ละขั้นตอน อย่างย่อ ว่ามีเครื่องมือ/เครื่องจักรอะไรบ้าง มีการตรวจสอบ/ทวนสอบอย่างไร
เพื่อให้เห็นภาพรวมของคุณภาพ
7.5.2 การรับรองกระบวนการผลิต และการให้บริการ ข้อกำหนดนี้จะใช้เฉพาะ “กระบวนการพิเศษ”
หรือกระบวนการที่ ไม่สามารถทวนสอบผลได้ทันทีที่สิ้นสุดกระบวนการ แต่ผลจะไปปรากฎก็
ต่อเมื่อผลิตภัณฑ์ถูกนำไปใช้แล้ว เพราะต้องใช้เวลากว่าจะแสดงความบกพร่องออกมา ซึ่งผู้
มีอำนาจลงนามต้องเป็นผู้พิจารณา ผลการรับรองที่เห็นถึงความสามารถ
ที่จะบรรลุตามแผน และจะต้องจัดทำมาตรการรองรับกระบวนการเหล่านี้ โดยครอบคลุมถึง
- a กำหนดเกณฑ์ไว้ว่าจะทบทวนอะไร มีเกณฑ์อย่างไร คือเมื่อใดถึงเรียกว่า “อนุมัติ” และเมื่อใด
ถึงเรียกว่า “ไม่อนุมัติ”
- b หลักการของกระบวนการพิเศษก็คือ อุปกรณ์ต้องเจ๋ง คนต้องเยี่ยม เป็นการรับประกันไว้ว่า
ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณภาพ เรื่องคนต้อง มีการฝึกอบรม และประเมินผลเป็นระยะๆ ให้ทราบถึง
ความสามารถที่มี ส่วนอุปกรณ์ก็ทำทะเบียนคุม
- c กระบวนการพิเศษ วิธีการ/ขั้นตอนต่างๆ จะต้องมีการควบคุมแบบพิเศษ มีการระบุวิธีการเป็น
เอกสารที่ชัดเจน
- d ข้อกำหนดเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีการบันทึกข้อมูลต้องระบุขั้นตอน จัดทำแบบฟอร์ม บันทึกผล
เก็บรักษาไว้ (ดูข้อ 4.2.4)
- d มีการทบทวนอนุมัติซ้ำ ของกระบวนการเดิมตามความเหมาะสม โดยใช้เกณฑ์เดิมแต่ตัดสิน
อนุมัติใหม่
สรุป : องค์กรที่มีกระบวนการพิเศษ ต้องจัดทำ ระเบรียบปฏิบัตินี้ ส่วนองค์กรที่ไม่มีกระบวนการ
พิเศษ ก็ข้ามข้อกำหนดนี้ไป
7.5.3 การชี้บ่งและการสอบกลับ การชี้บ่ง ความหมาย คือ ชี้บ่งแล้วบอกได้ว่าสิ่งนั้นคืออะไร เพื่อ
ป้องกันการสับสน ที่ก่อให้เกิด ความบกพร่องตามมา การชี้บ่งทำได้หลายวิธี เช่น ติดป้าย,
ใช้แถบสีต่างกัน เพื่อแยกประเภท เป็นต้น
- การติดตาม การตรวจสอบต่างๆ ต้องมีการชี้บ่งสถานะที่ชัดเจน โดยเฉพาะการชี้บ่งว่าอันไหน
“ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน”
- ต้องวางระบบให้สอบกลับได้ มีการบันทึกรายละเอียดต่างๆ เช่น กำหนด Lot Card กรณี เกิด
CCR สามารถสอบย้อนกลับ ได้ ว่าประวัติการผลิต มีกระบวนการอย่างไร ใช้วัตถุดิบ เครื่องจักร
อะไร เพื่อสืบหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา
7.5.4 ทรัพย์สินของลูกค้า คือ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ หรืออะไรก็ตาม ที่ลูกค้าส่งมาให้ เพื่อประกอบ
เป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ชิ้นงานตัวอย่าง แบบวาด องค์กรมีการควบคุมโดยฝ่ายขายตาม
"ทะเบียนคุมทรัพย์สินของลูกค้า"FM-SAL-015
7.5.5 การดูแลรักษาผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์/วัติถุดิบ ในทุกกระบวนการทั่วทั้งองค์กร รวมไปถึงการ
ส่งมอบผลิตภัณฑ์ไปยังลูกค้า ต้องมีการถนอมรักษา โดย มีการชี้บ่งที่เหมาะสม มั่นใจว่าไม่
สูญหาย ไม่เสื่อมสภาพ มีเกณฑ์กำหนดมาตรฐานการบรรจุ และมาตรฐานการจัดเก็บ เช่น
อุณหภูมิ ความชื้น ต้องเหมาะสม มีระบบควบคุม การเข้าก่อน/ออกก่อน
7.6 การควบคุมเครื่องมือเฝ้าติดตามและอุปกรณ์วัด องค์กรได้จัดทำระเบียบปฏิบัติเรื่อง "การควบคุม
เครื่องมือวัด" SP-PRO -004 ซึ่งแสดงถึงขั้นตอน และวิธีการควบคุม การสอบเทียบ/การทวนสอบ
ต่างๆ ที่ชัดเจน และยังจัดทำ "ทะเบียนคุมเครื่องมือวัด"FM-PRO-009 เพื่อกำหนดมาตรฐานการ
ควบคุม ชี้บ่งถึง ระยะเวลาในการสอบเทียบ/ทวนสอบ ให้ครอบคลุมดังนี้
- a อุปกรณ์/เครื่องมือวัดต้องได้รับการสอบเทียบ/ทวนสอบ ตามระยะเวลาที่กำหนด หรือตามความ
เหมาะสม อุปกรณ์ที่ไม่จำเป็น ต้องสอบเทียบ เช่น เครื่องชั่งานหยาบๆ เพื่อคัดแยก แต่เครื่องชั่งที่
ซึ่งจะต้องชั่งโดยละเอียด 100 % กรณีนี้ต้องสอบเทียบ เป็นต้น การสอบเทียบนี้องค์กรอาจ
สามารถทำได้เอง แต่ต้องสอบกลับได้ถึงมาตรฐานระดับนานาชาติ รับรองโดย Certificate
- b อุปกรณ์ใดๆก็ตาม เมื่อใช้ไปเรื่อยๆ มันก็จะมีความคลาดเคลื่อน จะมากหรือน้อยขึ้นกับแต่ละ
อุปกรณ์ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องระบุ ระยะเวลาการสอบเทียบ/ทวนสอบ ซ้ำเป็นระยะๆ ตามความจำ
เป็น ถ้าประวัติเบี้ยวบ่อย ก็คงต้องปรับเทียบบ่อยหน่อย
- c อุปกรณ์ที่ได้รับการสอบเทียบ/ทวนสอบแล้ว ต้องได้รับการชี้บ่งถึงสถานะอย่างชัดเจน โดยติด
ป้ายสติ๊กเกอร์ที่ตัวอุปกรณ์ หรือใช้บันทึกในการแสดงสถานะการสอบเทียบ เพื่อระบุสถานะ เช่น
ผ่าน, ไม่ผ่าน, วันที่สอบเทียบ, วันที่ทวนสอบครั้งต่อไป
- d อุปกรณ์ต่างๆ เมื่อมีการสอบเทียบจนอยู่ในค่าที่ยอมรับได้ ต้องมีมาตรการป้องกันผู้ไม่ประสงค์ดี
มาปรับแต่งจนค่าที่ปรับไว้ ถูกต้อง คลาดเคลื่อนไป เช่น ติดสติ๊กเกอร์ทับรูที่ปรับตั้งไว้ ถ้าสติกเกอร์
ฉีกขาด การปรับแต่งนั้นเป็นโมฆะ ต้องสอบเทียบใหม่
- e ต้องมีมาตรการป้องกัน ในเรื่องของ การเคลื่อนย้าย การจัดเก็บ การบำรุงรักษาอุปกรณ์ ไม่ให้ตัว
อุปกรณ์ และค่าที่สอบเทียบ ชำรุดเสียหาย หรือคลาดเคลื่อนไป
*** กรณีผลการสอบเทียบพบว่าเครื่องมือวัดมีความผิดปกติ คลาดเคลื่อน จนตก สเปคที่ยอมรับได้
องค์กรต้องประเมินว่า มีผลิตภัณฑ์อะไร, รุ่นไหน, ล็อตไหน ที่ได้ผ่านการวัดจากเครื่องมือวัดตัว
นั้น และต้องบันทึกผลการประเมินไว้ว่าจะ ดำเนินการอย่างไรกับอุปกรณ์นั้น เช่น นำไปซ่อม,
ปรับแต่งใหม่, ทำลายทิ้ง ของในสต็อกนำไปตรวจสอบซ้ำ เป็นต้น
7.1 การวางแผนการก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ การสร้างผลิตภัณฑ์ หมายถึงกระบวนการทั้งหมดที่ก่อให้
เกิดมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์โดยตรง เช่น การออกแบบ, การจัดซื้อ, การผลิต ฯลฯ มีการวางแผน
และนำไปปฏิบัติ ซึ่งกระบวนการขั้นตอนเหล่านั้น องค์กรได้กำหนด และจัดทำเป็น "แผนคุณภาพ
(Quality Plan)" SD-PRO-010 ที่สอดคล้องกับข้อกำหนดอื่นๆ และไม่ขัดแย้งกันแผนนี้ จะทำให้
มองเห็นภาพรวมของการสร้างผลิตภัณฑ์ ว่าทำให้เกิดคุณภาพขึ้นได้อย่างไรสิ่งที่ต้องระบุในแผน
- a ต้องพิจารณาจากวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ขององค์กร ห้ามลอก หรือคิดเดาส่ง เพราะจะไม่
บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ต้องระบุลงไปในแผนคุณภาพ จะได้เห็น
ได้ชัดเจนว่าลูกค้าต้องการอะไร
- b ความจำเป็นในการจัดทำเอกสาร คือ ให้ระบุลงไปว่า กระบวนการหรือขั้นตอนต่างๆ มีเอกสาร
อะไรบ้างที่ใช้ควบคุม เช่น SP, WI, SD, FM การจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นโดย 4M คน, เครื่องจักร,
วัตถุดิบ วิธีการ อาจใช้หมายเลขอ้างอิงระบุในแผน
- c ระบุกระบวนการ ที่เกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบ/ทวนสอบ การอนุมัติการใช้ การเฝ้าติดตาม กำหนด
เกณฑ์ยอมรับ
- d ระบุถึงบันทึกต่างๆ ที่ใช้ อาจจะอ้างอิงเป็นหมายเลขแบบฟอร์ม หรือชื่อบันทึกลงในแผนตาม
ลำดับหน่วยงาน
หมายเหตุ : แผนในข้อ 7.1 ที่เรากำลังพูดถึงอยู่นี่เรียกรวมๆ ว่า “แผนคุณภาพ" ซึ่งแผนคุณภาพนี้
เป็นภาพกว้างๆ ที่ได้มาซึ่งคุณภาพ
7.2 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า
7.2.1 การระบุข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ องค์กรได้กำหนดไว้ใน "การทบทวนการสั่งซื้อ
ของลูกค้า" SP-SAL-001 ดังนี้
- a สิ่งที่ลูกค้าต้องการ อาจดูจากใบสั่งซื้อ สเปค การจัดส่งที่รวดเร็ว บริการหลังการขาย เพื่อให้เกิด
ความพึงพอใจสูงสุด
- b สิ่งที่ลูกค้าไม่ได้กำหนด แต่องค์กรทราบว่าจำเป็นต้องมี เพื่อทำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ (ต้อง
ระบุตามความเหมาะสม)
- c สิ่งที่ขัดต่อกฏหมาย เช่นสารเคมีต้องห้าม เอกสารต้องห้าม ลักษณะการส่งมอบ ต้องมีการควบ
คุมและระบุไว้
- d สิ่งที่องค์กรพิจารณาว่ามีความจำเป็น ต้องระบุไว้ในเอกสาร
- e หมายเหตุ เกี่ยวกับกิจกรรมหลังการส่งมอบ เช่นเงื่อนไขการรับประกัน สัญญาต่างๆ เช่น บริการ
ซ่อมบำรุง เป็นต้น
7.2.2 การทบทวนข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ เชื่อมโยงกับข้อ 7.2.1 ต้องทบทวนข้อ
กำหนดก่อนการสั่งซื้อ หรือสั่งผลิตเช่น การเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายละเอียดคำสั่งซื้อที่ได้
ตกลงกันไว้ก่อนหน้า ความสามารถขององค์กร การส่งมอบต้องจัดทำบันทึกรายละเอียด ผล
ของการทบทวนเก็บไว้เพื่อยืนยันให้ทราบโดยทั่วถึงกันถึงผลการเปลี่ยนแปลง
ซึ่งองค์กรได้ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องประชุมร่วมกัน กรณีมีการเปลี่ยนแปลงข้อตกลงต่างๆ
อย่างเป็นระบบ
7.2.3 การติดต่อกับลูกค้า องค์กรกำหนดให้ฝ่ายขายเป็นผู้ประสารงานกับลูกค้าเพื่อกำหนดความ
ต้องการที่แท้จริง โดย
- a ข้อมูลผลิตภัณฑ์ หมายถึง สเปค รายละเอียดวัติถุดิบ ฯลฯ และต้องระบุว่า
ใครเป็นผู้ส่ง/ผู้รับ วิธีจัดส่งอย่างไร
- b เอกสารเกี่ยวกับการสั่งซื้อ, การทบทวนข้อตกลง อ้างถึงข้อ 7.2.2 ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ประชุมร่วมกัน อย่างเป็นระบบ
- c กำหนดขั้นตอน และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลย้อนกลับจากลูกค้าไว้ใน "การรับข้อร้องเรียน
ของลูกค้า" FM-SAL-002
7.3 การออกแบบ และการพัฒนา (ยกเว้ณข้อกำหนด 7.3 - 7.3.7) องค์กรไม่ได้ออแบบเป็นสินค้า
มาตรฐาน
7.4 การจัดซื้อ
7.4.1 กระบวนการจัดซื้อ องค์กร มีระบบการคัดเลือกผู้ขาย การประเมิน และการประเมินซ้ำ การ
ตรวจรับของที่สั่งซื้อมีเกณฑ์ควบคุมคุณภาพวัติถุดิบหลัก สเปค, ความเข้มงวด โดย
พิจารณาตามความเหมาะสมให้สอดคล้องต่อข้อกำหนด ของลูกค้าตาม "การควบคุม
Supplier และการสั่งซื้อ" SP-PUR-001 และบันทึกผลการประเมิน ต้องจัดเก็บรักษาไว้
7.4.2 ข้อมูลการจัดซื้อ ต้องระบุรายละเอียดข้อมูลของผลิตภัณฑ์ที่องค์กรต้องการในใบสั่งซื้อให้
ละเอียด เพื่อใช้สื่อสารกับผู้ขาย ว่าองค์กรต้องการอะไร ซึ่งใบสั่งซื้อนี้ยังใช้เป็นข้อมูลยืนยัน
ในการตรวจรับผลิตภัณฑ์ ตามข้อ 7.4.3 การตรวจรับ ต้องมีการลงนามอนุมัติ ตามลำดับ
ความจำเป็น และความเหมาะสมของผู้ตรวจรับ ขอใบรับรองผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่จำเป็น
7.4.3 การทวนสอบผลิตภัณฑ์ที่จัดซื้อ องค์กรได้ระบุข้อกำหนดการสั่งซื้อไว้แล้วใน 7.4.1, 7.4.2
เราก็นำข้อกำหนดเหล่านั้น มาป็นเกณฑ์การตรวจสอบ โดยอาจจะทำเป็นมาตรฐานการตรวจ
สอบ ที่สามารถสอบกลับได้ถึงข้อมูลการสั่งซื้อ กรณีที่องค์กร หรือลูกค้าขององค์กรต้องการ
ไปทวนสอบที่สถานประกอบการของผู้ขาย ฝ่ายจัดซื้อต้อง ดำเนินการทั้งหมด
โดยประสานงานกับผู้ขาย ถึงเกณฑ์การทวนสอบ ระบุแผนงาน/วิธีการที่ชัดเจนว่าจะตรวจ
สอบอะไรใช้มาตรฐานใดอ้างอิง
7.5 การผลิต และการให้บริการ
7.5.1 การควบคุมการผลิต และการให้บริการ ข้อกำหนดนี้เน้นไปที่การผลิต และให้บริการ เราได้
วางแผนต่างๆ ไปแล้วใน 7.1
ที่เหลือก็คือ การปฏิบัติตามแผน องค์กรต้องแสดงให้เห็นว่า มีความพร้อมภายใต้สภาวะที่
ได้รับการควบคุม โดยองค์กรได้จัดทำ "แผนคุณภาพ" SP-PRO-010, "การวางแผน และการ
ควบคุมการผลิต" SP-PRO-001 และได้ควบคุมคุณภาพโดยกระบวนการ
NC/CCR/CAR/PAR กระบวนการควบคุมนี้ต้องครอบคลุมถึง (ตามความเหมาะสม)
- a) ข้อมูลที่อธิบายถึงคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ เช่น แบบวาดจากลูกค้า หรือเอกสารขั้นตอน
คุณสมบัติที่ลูกค้ากำหนด
- b) เอกสารวิธีการปฏิบัติงานที่จำเป็น เช่น SP, WI, SD, FM เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูก
ต้องตามมาตรฐาน โดยระบุเป็นรหัสเอกสารกำกับไว้ใน แผนคุณภาพ เพื่อเป็นตัวบอกว่าขั้น
ตอนนั้นๆ มีเอกสารแนะนำอะไรบ้าง
- c) การเลือกใช้อุปกรณ์/เครื่องจักร ต้องเหมาะสม เช่น เอกสารขั้นตอนการผลิตที่ระบุถึง การ
เลือกใช้เครื่องจักร/อุปกรณ์
- d) กำหนดขั้นตอนกระบวนการทวนสอบ/วิธีการใช้งานเครื่องมือวัด ที่ใช้เฝ้าติดตามคุณภาพ ที่
เหมาะสม
- e) กำหนดขั้นตอนกระบวนการตรวจวัดผลิตภัณฑ์ และการเฝ้าติดตาม ประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
ได้ระบุไว้ในแผนคุณภาพ
- f) กำหนดขั้นตอนกระบวนการ ตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์ การส่งมอบ และกิจกรรมหลังการขาย เพื่อ
ให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด
สรุป : แผนคุณภาพที่ได้จัดทำขึ้น เพื่อแสดงขั้นตอนต่างๆ ควรจะมีคอลัมภ์ที่แสดงข้อมูลรายละเอียด
แต่ละขั้นตอน อย่างย่อ ว่ามีเครื่องมือ/เครื่องจักรอะไรบ้าง มีการตรวจสอบ/ทวนสอบอย่างไร
เพื่อให้เห็นภาพรวมของคุณภาพ
7.5.2 การรับรองกระบวนการผลิต และการให้บริการ ข้อกำหนดนี้จะใช้เฉพาะ “กระบวนการพิเศษ”
หรือกระบวนการที่ ไม่สามารถทวนสอบผลได้ทันทีที่สิ้นสุดกระบวนการ แต่ผลจะไปปรากฎก็
ต่อเมื่อผลิตภัณฑ์ถูกนำไปใช้แล้ว เพราะต้องใช้เวลากว่าจะแสดงความบกพร่องออกมา ซึ่งผู้
มีอำนาจลงนามต้องเป็นผู้พิจารณา ผลการรับรองที่เห็นถึงความสามารถ
ที่จะบรรลุตามแผน และจะต้องจัดทำมาตรการรองรับกระบวนการเหล่านี้ โดยครอบคลุมถึง
- a กำหนดเกณฑ์ไว้ว่าจะทบทวนอะไร มีเกณฑ์อย่างไร คือเมื่อใดถึงเรียกว่า “อนุมัติ” และเมื่อใด
ถึงเรียกว่า “ไม่อนุมัติ”
- b หลักการของกระบวนการพิเศษก็คือ อุปกรณ์ต้องเจ๋ง คนต้องเยี่ยม เป็นการรับประกันไว้ว่า
ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณภาพ เรื่องคนต้อง มีการฝึกอบรม และประเมินผลเป็นระยะๆ ให้ทราบถึง
ความสามารถที่มี ส่วนอุปกรณ์ก็ทำทะเบียนคุม
- c กระบวนการพิเศษ วิธีการ/ขั้นตอนต่างๆ จะต้องมีการควบคุมแบบพิเศษ มีการระบุวิธีการเป็น
เอกสารที่ชัดเจน
- d ข้อกำหนดเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีการบันทึกข้อมูลต้องระบุขั้นตอน จัดทำแบบฟอร์ม บันทึกผล
เก็บรักษาไว้ (ดูข้อ 4.2.4)
- d มีการทบทวนอนุมัติซ้ำ ของกระบวนการเดิมตามความเหมาะสม โดยใช้เกณฑ์เดิมแต่ตัดสิน
อนุมัติใหม่
สรุป : องค์กรที่มีกระบวนการพิเศษ ต้องจัดทำ ระเบรียบปฏิบัตินี้ ส่วนองค์กรที่ไม่มีกระบวนการ
พิเศษ ก็ข้ามข้อกำหนดนี้ไป
7.5.3 การชี้บ่งและการสอบกลับ การชี้บ่ง ความหมาย คือ ชี้บ่งแล้วบอกได้ว่าสิ่งนั้นคืออะไร เพื่อ
ป้องกันการสับสน ที่ก่อให้เกิด ความบกพร่องตามมา การชี้บ่งทำได้หลายวิธี เช่น ติดป้าย,
ใช้แถบสีต่างกัน เพื่อแยกประเภท เป็นต้น
- การติดตาม การตรวจสอบต่างๆ ต้องมีการชี้บ่งสถานะที่ชัดเจน โดยเฉพาะการชี้บ่งว่าอันไหน
“ผ่าน” หรือ “ไม่ผ่าน”
- ต้องวางระบบให้สอบกลับได้ มีการบันทึกรายละเอียดต่างๆ เช่น กำหนด Lot Card กรณี เกิด
CCR สามารถสอบย้อนกลับ ได้ ว่าประวัติการผลิต มีกระบวนการอย่างไร ใช้วัตถุดิบ เครื่องจักร
อะไร เพื่อสืบหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา
7.5.4 ทรัพย์สินของลูกค้า คือ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ หรืออะไรก็ตาม ที่ลูกค้าส่งมาให้ เพื่อประกอบ
เป็นผลิตภัณฑ์ เช่น ชิ้นงานตัวอย่าง แบบวาด องค์กรมีการควบคุมโดยฝ่ายขายตาม
"ทะเบียนคุมทรัพย์สินของลูกค้า"FM-SAL-015
7.5.5 การดูแลรักษาผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์/วัติถุดิบ ในทุกกระบวนการทั่วทั้งองค์กร รวมไปถึงการ
ส่งมอบผลิตภัณฑ์ไปยังลูกค้า ต้องมีการถนอมรักษา โดย มีการชี้บ่งที่เหมาะสม มั่นใจว่าไม่
สูญหาย ไม่เสื่อมสภาพ มีเกณฑ์กำหนดมาตรฐานการบรรจุ และมาตรฐานการจัดเก็บ เช่น
อุณหภูมิ ความชื้น ต้องเหมาะสม มีระบบควบคุม การเข้าก่อน/ออกก่อน
7.6 การควบคุมเครื่องมือเฝ้าติดตามและอุปกรณ์วัด องค์กรได้จัดทำระเบียบปฏิบัติเรื่อง "การควบคุม
เครื่องมือวัด" SP-PRO -004 ซึ่งแสดงถึงขั้นตอน และวิธีการควบคุม การสอบเทียบ/การทวนสอบ
ต่างๆ ที่ชัดเจน และยังจัดทำ "ทะเบียนคุมเครื่องมือวัด"FM-PRO-009 เพื่อกำหนดมาตรฐานการ
ควบคุม ชี้บ่งถึง ระยะเวลาในการสอบเทียบ/ทวนสอบ ให้ครอบคลุมดังนี้
- a อุปกรณ์/เครื่องมือวัดต้องได้รับการสอบเทียบ/ทวนสอบ ตามระยะเวลาที่กำหนด หรือตามความ
เหมาะสม อุปกรณ์ที่ไม่จำเป็น ต้องสอบเทียบ เช่น เครื่องชั่งานหยาบๆ เพื่อคัดแยก แต่เครื่องชั่งที่
ซึ่งจะต้องชั่งโดยละเอียด 100 % กรณีนี้ต้องสอบเทียบ เป็นต้น การสอบเทียบนี้องค์กรอาจ
สามารถทำได้เอง แต่ต้องสอบกลับได้ถึงมาตรฐานระดับนานาชาติ รับรองโดย Certificate
- b อุปกรณ์ใดๆก็ตาม เมื่อใช้ไปเรื่อยๆ มันก็จะมีความคลาดเคลื่อน จะมากหรือน้อยขึ้นกับแต่ละ
อุปกรณ์ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องระบุ ระยะเวลาการสอบเทียบ/ทวนสอบ ซ้ำเป็นระยะๆ ตามความจำ
เป็น ถ้าประวัติเบี้ยวบ่อย ก็คงต้องปรับเทียบบ่อยหน่อย
- c อุปกรณ์ที่ได้รับการสอบเทียบ/ทวนสอบแล้ว ต้องได้รับการชี้บ่งถึงสถานะอย่างชัดเจน โดยติด
ป้ายสติ๊กเกอร์ที่ตัวอุปกรณ์ หรือใช้บันทึกในการแสดงสถานะการสอบเทียบ เพื่อระบุสถานะ เช่น
ผ่าน, ไม่ผ่าน, วันที่สอบเทียบ, วันที่ทวนสอบครั้งต่อไป
- d อุปกรณ์ต่างๆ เมื่อมีการสอบเทียบจนอยู่ในค่าที่ยอมรับได้ ต้องมีมาตรการป้องกันผู้ไม่ประสงค์ดี
มาปรับแต่งจนค่าที่ปรับไว้ ถูกต้อง คลาดเคลื่อนไป เช่น ติดสติ๊กเกอร์ทับรูที่ปรับตั้งไว้ ถ้าสติกเกอร์
ฉีกขาด การปรับแต่งนั้นเป็นโมฆะ ต้องสอบเทียบใหม่
- e ต้องมีมาตรการป้องกัน ในเรื่องของ การเคลื่อนย้าย การจัดเก็บ การบำรุงรักษาอุปกรณ์ ไม่ให้ตัว
อุปกรณ์ และค่าที่สอบเทียบ ชำรุดเสียหาย หรือคลาดเคลื่อนไป
*** กรณีผลการสอบเทียบพบว่าเครื่องมือวัดมีความผิดปกติ คลาดเคลื่อน จนตก สเปคที่ยอมรับได้
องค์กรต้องประเมินว่า มีผลิตภัณฑ์อะไร, รุ่นไหน, ล็อตไหน ที่ได้ผ่านการวัดจากเครื่องมือวัดตัว
นั้น และต้องบันทึกผลการประเมินไว้ว่าจะ ดำเนินการอย่างไรกับอุปกรณ์นั้น เช่น นำไปซ่อม,
ปรับแต่งใหม่, ทำลายทิ้ง ของในสต็อกนำไปตรวจสอบซ้ำ เป็นต้น
ข้อกำหนดระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2008 บทที่ 6
บทที่ 6. การบริหารทรัพยากร
6.1 การจัดสรรทรัพยากร เป็นความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารที่ต้องมั่นใจว่าทรัพยากรที่จำเป็นมีอยู่
พร้อม และเตรียมพร้อมเพื่อสามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ และเกิดความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า
(ข้อกำหนดนี้จะโยงกับข้อกำหนดที่ 5.1 ความมุ่งมั่น)
6.2 ทรัพยากรบุคคล
6.2.1 บททั่วไป บุคคลากรทุกคนในองค์กร ต้องมีความสามารถ โดยพิจารณาจาก การศึกษา การ
ฝึกอบรม และประสบการณ์ โดยใช้ขีดความสามารถที่องค์กรต้องการ เป็นตัวตั้ง แล้วเติม
เต็มการฝึกอบรม หรือกิจกรรมอื่นๆ เพื่อให้เกิดความสามารถ
6.2.2 ความสามารถ การฝึกอบรม และความตระหนัก
- องค์กรได้กำหนด ความสามารถที่ต้องการใน "ใบกำหนดหน้าที่งาน" FM-PER-002 แยกแต่
ละหน้าที่งานอย่างชัดเจนโดยอธิบายให้ทราบถึงขีดความสามารถที่ต้องการในตำแหน่ง
นั้นๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างขีดความสามารถให้บรรลุผล โดยได้กำหนดแนวทาง
การประเมินไว้ใน "การสรรหาบุคคลากรและการอบรม" SP-PER-001
- การดำเนินการต้องทำให้สอดคล้องโดยประเมินด้วยความโปรงใส ซึ่ง ฝ่ายบริหารต้องสร้าง
ความตระหนักรับรู้ให้ พนักงานรับทราบและเข้าใจอย่างทั่วถึง และยอมรับการเปลี่ยนแปลง
และต้องเก็บรักษาบันทึกของการประเมินไว้
6.3 โครงสร้างพื้นฐาน ข้อกำหนดต้องการ 2 อย่าง
1.กำหนด คือ ทำรายการไว้ว่า ปัจจัยพื้นฐานที่ต้องการมีอะไรบ้าง สำรวจดู นำเข้าที่ประชุม
ทบทวนของฝ่ายบริหาร เพื่อทบทวน และเสนอว่า
ต้องการอะไรเพิ่มเติม (ทุกสิ่งที่ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์)
2.จัดหาก็คือ ทำให้มันมีขึ้นในปัจจัยพื้นฐานที่ได้ระบุไว้ตามข้อ 1 เช่น อาคาร สิ่งอำนวยความ
สะดวก เครื่องจัรก/อุปกรณ์ บริการสนับสนุนต่างๆ เช่นการขนส่ง อุปกรณ์ติดต่อสื่อสาร ระบบ
สารสนเทศ เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้ให้ดูความจำเป็นไม่ใช่
นิดหน่อยก็นำเข้ามาเป็นภาระงาน องค์กรมีขั้นตอนการบำรุงรักษาเครื่องจักรPM.
(ไตรมาสละ 1 ครั้ง)แยกตามหน่วยงาน
6.4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน องค์กร กำหนดรายละเอียด/กฏเกณฑ์ไว้ใน "คู่มือระบการจัดการสิ่ง
แวดล้อม" EMS-QMR-002 เพื่อบอกถึงสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ที่จำเป็นต่อคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ เช่น อุณหภูมิ, ความชื้น, เสียง, แสงสว่าง เป็นต้นซึ่งมีกระบวนการควบคุม และตรวจ
สอบโดย FM-QMR-013 เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาวะที่ต้องการ เป็นไปตามข้อกำหนด
6.1 การจัดสรรทรัพยากร เป็นความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารที่ต้องมั่นใจว่าทรัพยากรที่จำเป็นมีอยู่
พร้อม และเตรียมพร้อมเพื่อสามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ และเกิดความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า
(ข้อกำหนดนี้จะโยงกับข้อกำหนดที่ 5.1 ความมุ่งมั่น)
6.2 ทรัพยากรบุคคล
6.2.1 บททั่วไป บุคคลากรทุกคนในองค์กร ต้องมีความสามารถ โดยพิจารณาจาก การศึกษา การ
ฝึกอบรม และประสบการณ์ โดยใช้ขีดความสามารถที่องค์กรต้องการ เป็นตัวตั้ง แล้วเติม
เต็มการฝึกอบรม หรือกิจกรรมอื่นๆ เพื่อให้เกิดความสามารถ
6.2.2 ความสามารถ การฝึกอบรม และความตระหนัก
- องค์กรได้กำหนด ความสามารถที่ต้องการใน "ใบกำหนดหน้าที่งาน" FM-PER-002 แยกแต่
ละหน้าที่งานอย่างชัดเจนโดยอธิบายให้ทราบถึงขีดความสามารถที่ต้องการในตำแหน่ง
นั้นๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างขีดความสามารถให้บรรลุผล โดยได้กำหนดแนวทาง
การประเมินไว้ใน "การสรรหาบุคคลากรและการอบรม" SP-PER-001
- การดำเนินการต้องทำให้สอดคล้องโดยประเมินด้วยความโปรงใส ซึ่ง ฝ่ายบริหารต้องสร้าง
ความตระหนักรับรู้ให้ พนักงานรับทราบและเข้าใจอย่างทั่วถึง และยอมรับการเปลี่ยนแปลง
และต้องเก็บรักษาบันทึกของการประเมินไว้
6.3 โครงสร้างพื้นฐาน ข้อกำหนดต้องการ 2 อย่าง
1.กำหนด คือ ทำรายการไว้ว่า ปัจจัยพื้นฐานที่ต้องการมีอะไรบ้าง สำรวจดู นำเข้าที่ประชุม
ทบทวนของฝ่ายบริหาร เพื่อทบทวน และเสนอว่า
ต้องการอะไรเพิ่มเติม (ทุกสิ่งที่ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์)
2.จัดหาก็คือ ทำให้มันมีขึ้นในปัจจัยพื้นฐานที่ได้ระบุไว้ตามข้อ 1 เช่น อาคาร สิ่งอำนวยความ
สะดวก เครื่องจัรก/อุปกรณ์ บริการสนับสนุนต่างๆ เช่นการขนส่ง อุปกรณ์ติดต่อสื่อสาร ระบบ
สารสนเทศ เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้ให้ดูความจำเป็นไม่ใช่
นิดหน่อยก็นำเข้ามาเป็นภาระงาน องค์กรมีขั้นตอนการบำรุงรักษาเครื่องจักรPM.
(ไตรมาสละ 1 ครั้ง)แยกตามหน่วยงาน
6.4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน องค์กร กำหนดรายละเอียด/กฏเกณฑ์ไว้ใน "คู่มือระบการจัดการสิ่ง
แวดล้อม" EMS-QMR-002 เพื่อบอกถึงสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ที่จำเป็นต่อคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ เช่น อุณหภูมิ, ความชื้น, เสียง, แสงสว่าง เป็นต้นซึ่งมีกระบวนการควบคุม และตรวจ
สอบโดย FM-QMR-013 เพื่อให้ได้มาซึ่งสภาวะที่ต้องการ เป็นไปตามข้อกำหนด
วันจันทร์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2555
ข้อกำหนดระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2008 บทที่ 5
บทที่ 5. ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร
5.1 ความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหาร ข้อกำหนดนี้ต้องการคุยกับผู้บริหารว่าเอาจริงแค่ไหน มีแนว
ทางบริหารระบบ การนำไปใช้ การประยุกต์ใช้ และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างไร
(แม้จะไม่แม่นข้อกำหนด) ก็ถือว่าสอบผ่าน เพราะหลักการบริหาร 8 ประการ เน้นเรื่อง
ภาวะผู้นำ บริษัทฯ ได้มีแผนงานประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร 2 ครั้ง/ปี เป็นประจำทุกปี)
- MD. กำหนดทรัพยากรที่จำเป็นต่างๆ เพื่อช่วยบริหารงาน พร้อมทั้งมอบหมายให้ QMR.
จัดทำนโยบายคุณภาพ, วัตถุประสงค์คุณภาพ แจกจ่ายไปยังทุกแผนก และ
สร้างความตระหนักรับรู้ให้ทราบโดยทั่วถึงทั้งองค์กร อย่างต่อเนื่อง
5.2 การมุ่งเน้นที่ลูกค้า ผู้บริหารต้องกำหนดถึงการให้ความสำคัญแก่ลูกค้า การตรวจวัด
ความพึงพอใจของลูกค้ามีกระบวนการอย่างไร ซึ่งองค์กรได้กำหนดไว้ใน "การทบทวน
คำสั่งซื้อของลูกค้า" SP-SAL-001 ซึ่งแสดงถึงขั้นตอนที่ชัดเจน
5.3 นโยบายคุณภาพ องค์กรกำหนดนโยบายคุณภาพ บริษัทฯ แยกเป็นสัดส่วนระหว่าง ผลิต,
ขนส่ง, ขาย โดยม่งเน้นให้คงคุณค่า และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนโยบายคุณภาพนี้ต้อง
ไม่ขัดแย้งกับ วัตถุประสงค์ขององค์กร ต้องนำเข้าที่ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร
เพื่อให้ทุกฝ่ายรับทราบ และต้องสื่อสารให้พนักงานรับทราบอย่างทั่วถึง เช่น ติดประกาศ,
อบรม (พนักงานต้องเข้าใจความหมาย)
5.4 การวางแผน
5.4.1 วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ผู้บริหารต้องกำหนดให้จัดตั้ง เป้าหมายคุณภาพของ
ทุกแผนก และต้องสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์หลัก / นโยบายคุณภาพของบริษัทฯ
ซึ่งจะต้องวัดผลได้ โดยทั้วไปกำหนดเป็นตัวเลขที่ชัดเจน
5.4.2 การวางแผนระบบบริหารคุณภาพ กำหนดให้มีการวางแผนงาน และนำไปปฏิบัติ
ให้บรรลุตามเป้าหมาย ซึ่งหลักฐาน ที่ต้องการคือ แผนงาน อาจเป็นฟอร์มบันทึก
ว่าใครต้องทำอะไร ซึงรายละเอียดกำหนดใน คู่มือคุณภาพ QM-QMR-001
การเปลี่ยนแปลง ระบบบริหารงานคุณภาพ เช่น ปรับผังองค์กรใหม่, ผลิตภัณฑ์ใหม่,
มีหน่วยงานใหม่เกิดขึ้น และการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการปฏิบัติงาน ต้องมีกระบวน
การควบคุมให้คงความสมบูรณ์ของระบบ และนำไปปฏิบัติ
5.5 ความรับผิดชอบ อำนาจสั่งการ และการสื่อสาร
5.5.1 ความรับผิดชอบ อำนาจสั่งการ องค์กรได้กำหนด "ผังองค์กร" FM-PER-001 และ
"ใบกำหนดหน้าที่งาน" FM-PER-002 ที่ชัดเจนในส่วนงายฝ่ายบุคคล และได้มี
การสือสารโดยการอบรมท่ายทอดความรู้ให้รับทราบทั่วถึงกันทั้งองค์กร
5.5.2 ตัวแทนฝ่ายบริหาร ประกาศแต่งตั้ง ตัวแทนฝ่ายบริหารด้านคุณภาพ (QMR.)
โดยให้ MD. อนุมัติลงนาม ประกาศ ให้รับทราบโดยทั่วกัน โดยมีอำนาจหน้าที่
รับผิดชอบในเรื่องต่อไปนี้
- จัดทำคู่มือคุณภาพ ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง รณรงค์ส่งเสริมให้นำไปปฏิบัติ
และคงรักษาไว้ รายงานผลต่อ MD.
5.5.3 การสื่อสารในองค์กร องค์กรกำหนดกระบวนการสื่อสารที่เหมาะสมใน คู่มือคุณภาพ โดย
ระบุว่าต้องสื่อสารอะไรวิธีไหน ใครเป็นผู้รับผิดชอบ สิ่งที่ต้องสื่อสาร เช่น ประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลของระบบ, IQA, การทบทวนต่างๆ
5.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร
5.6.1 บททั่วไป กำหนดให้มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร 2 ครั้ง/ปี และจัดทำ
"ใบแจ้งวาระการประชุม" FM-QMR-001 ซึ่งหัวข้อการประชุมกำหนดไว้ไม่ต่ำกว่า
7 ข้อ โดยครอบคลุมถึง โอกาสในการปรับเปลี่ยนระบบ และผลกระทบอื่นๆ
และต้องจัดทำบันทึก "รายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร" FM-QMR-002
เก็บรักษาไว้เป็นหลักฐาน
5.6.2 ข้อมูลสำหรับการทบทวน
- ผลการตรวจติดตามภายใน, ผลการตรวจประเมินโดยลูกค้า, การร้องเรียนจากลูกค้า,
ผลการตรวจวัดความพึงพอใจ NC./CCR./CAR./PAR. ,การติดตามผลการประชุม
ครั้งก่อน, การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อระบบ, ข้อเสนอแนะ
5.6.3 ผลจาการทบทวน ในการรายงานผล ผู้บริหารระดับสูงต้องพิจารณาสรุปผลว่า
จะดำเนินการปรับปรุงอย่างไร หรือ มอบหมายให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการ
ให้บรรลุผล ผลิตภัณฑ์ที่ ระะบุข้อกำหนดของลูกค้าไว้ เช่น สเปค ต่างๆ
ต้องหาทางปรับปรุงให้ดีขึ้น เช่น ถ้ามีอัตราของเสียเยอะ ต้องหาแนวทางปรับลด
ให้น้อยลง โดย กระบวนการ NC เป็นต้น ในส่วนของทรัพยากรที่จำเป็น ก็คือ
สิ่งที่รายงานนั่นเอง ต้องการอะไรเพิ่มเติมบ้าง ก็เสนอ และทบทวนในที่ประชุม
5.1 ความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหาร ข้อกำหนดนี้ต้องการคุยกับผู้บริหารว่าเอาจริงแค่ไหน มีแนว
ทางบริหารระบบ การนำไปใช้ การประยุกต์ใช้ และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างไร
(แม้จะไม่แม่นข้อกำหนด) ก็ถือว่าสอบผ่าน เพราะหลักการบริหาร 8 ประการ เน้นเรื่อง
ภาวะผู้นำ บริษัทฯ ได้มีแผนงานประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร 2 ครั้ง/ปี เป็นประจำทุกปี)
- MD. กำหนดทรัพยากรที่จำเป็นต่างๆ เพื่อช่วยบริหารงาน พร้อมทั้งมอบหมายให้ QMR.
จัดทำนโยบายคุณภาพ, วัตถุประสงค์คุณภาพ แจกจ่ายไปยังทุกแผนก และ
สร้างความตระหนักรับรู้ให้ทราบโดยทั่วถึงทั้งองค์กร อย่างต่อเนื่อง
5.2 การมุ่งเน้นที่ลูกค้า ผู้บริหารต้องกำหนดถึงการให้ความสำคัญแก่ลูกค้า การตรวจวัด
ความพึงพอใจของลูกค้ามีกระบวนการอย่างไร ซึ่งองค์กรได้กำหนดไว้ใน "การทบทวน
คำสั่งซื้อของลูกค้า" SP-SAL-001 ซึ่งแสดงถึงขั้นตอนที่ชัดเจน
5.3 นโยบายคุณภาพ องค์กรกำหนดนโยบายคุณภาพ บริษัทฯ แยกเป็นสัดส่วนระหว่าง ผลิต,
ขนส่ง, ขาย โดยม่งเน้นให้คงคุณค่า และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งนโยบายคุณภาพนี้ต้อง
ไม่ขัดแย้งกับ วัตถุประสงค์ขององค์กร ต้องนำเข้าที่ประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร
เพื่อให้ทุกฝ่ายรับทราบ และต้องสื่อสารให้พนักงานรับทราบอย่างทั่วถึง เช่น ติดประกาศ,
อบรม (พนักงานต้องเข้าใจความหมาย)
5.4 การวางแผน
5.4.1 วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ผู้บริหารต้องกำหนดให้จัดตั้ง เป้าหมายคุณภาพของ
ทุกแผนก และต้องสอดคล้องกับ วัตถุประสงค์หลัก / นโยบายคุณภาพของบริษัทฯ
ซึ่งจะต้องวัดผลได้ โดยทั้วไปกำหนดเป็นตัวเลขที่ชัดเจน
5.4.2 การวางแผนระบบบริหารคุณภาพ กำหนดให้มีการวางแผนงาน และนำไปปฏิบัติ
ให้บรรลุตามเป้าหมาย ซึ่งหลักฐาน ที่ต้องการคือ แผนงาน อาจเป็นฟอร์มบันทึก
ว่าใครต้องทำอะไร ซึงรายละเอียดกำหนดใน คู่มือคุณภาพ QM-QMR-001
การเปลี่ยนแปลง ระบบบริหารงานคุณภาพ เช่น ปรับผังองค์กรใหม่, ผลิตภัณฑ์ใหม่,
มีหน่วยงานใหม่เกิดขึ้น และการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการปฏิบัติงาน ต้องมีกระบวน
การควบคุมให้คงความสมบูรณ์ของระบบ และนำไปปฏิบัติ
5.5 ความรับผิดชอบ อำนาจสั่งการ และการสื่อสาร
5.5.1 ความรับผิดชอบ อำนาจสั่งการ องค์กรได้กำหนด "ผังองค์กร" FM-PER-001 และ
"ใบกำหนดหน้าที่งาน" FM-PER-002 ที่ชัดเจนในส่วนงายฝ่ายบุคคล และได้มี
การสือสารโดยการอบรมท่ายทอดความรู้ให้รับทราบทั่วถึงกันทั้งองค์กร
5.5.2 ตัวแทนฝ่ายบริหาร ประกาศแต่งตั้ง ตัวแทนฝ่ายบริหารด้านคุณภาพ (QMR.)
โดยให้ MD. อนุมัติลงนาม ประกาศ ให้รับทราบโดยทั่วกัน โดยมีอำนาจหน้าที่
รับผิดชอบในเรื่องต่อไปนี้
- จัดทำคู่มือคุณภาพ ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง รณรงค์ส่งเสริมให้นำไปปฏิบัติ
และคงรักษาไว้ รายงานผลต่อ MD.
5.5.3 การสื่อสารในองค์กร องค์กรกำหนดกระบวนการสื่อสารที่เหมาะสมใน คู่มือคุณภาพ โดย
ระบุว่าต้องสื่อสารอะไรวิธีไหน ใครเป็นผู้รับผิดชอบ สิ่งที่ต้องสื่อสาร เช่น ประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลของระบบ, IQA, การทบทวนต่างๆ
5.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร
5.6.1 บททั่วไป กำหนดให้มีการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร 2 ครั้ง/ปี และจัดทำ
"ใบแจ้งวาระการประชุม" FM-QMR-001 ซึ่งหัวข้อการประชุมกำหนดไว้ไม่ต่ำกว่า
7 ข้อ โดยครอบคลุมถึง โอกาสในการปรับเปลี่ยนระบบ และผลกระทบอื่นๆ
และต้องจัดทำบันทึก "รายงานการประชุมทบทวนฝ่ายบริหาร" FM-QMR-002
เก็บรักษาไว้เป็นหลักฐาน
5.6.2 ข้อมูลสำหรับการทบทวน
- ผลการตรวจติดตามภายใน, ผลการตรวจประเมินโดยลูกค้า, การร้องเรียนจากลูกค้า,
ผลการตรวจวัดความพึงพอใจ NC./CCR./CAR./PAR. ,การติดตามผลการประชุม
ครั้งก่อน, การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อระบบ, ข้อเสนอแนะ
5.6.3 ผลจาการทบทวน ในการรายงานผล ผู้บริหารระดับสูงต้องพิจารณาสรุปผลว่า
จะดำเนินการปรับปรุงอย่างไร หรือ มอบหมายให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับไปดำเนินการ
ให้บรรลุผล ผลิตภัณฑ์ที่ ระะบุข้อกำหนดของลูกค้าไว้ เช่น สเปค ต่างๆ
ต้องหาทางปรับปรุงให้ดีขึ้น เช่น ถ้ามีอัตราของเสียเยอะ ต้องหาแนวทางปรับลด
ให้น้อยลง โดย กระบวนการ NC เป็นต้น ในส่วนของทรัพยากรที่จำเป็น ก็คือ
สิ่งที่รายงานนั่นเอง ต้องการอะไรเพิ่มเติมบ้าง ก็เสนอ และทบทวนในที่ประชุม
ข้อกำหนดระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2008
บทที่ 1 - 3 ข้อกำหนด นิยามทั่วไป ไม่ต้องนำมาประยุกต์ใช้กับระบบ
บทที่ 4 ระบบบริหารคุณภาพ
4.1 ข้อกำหนดทั่วไป องค์กรต้องจัดทำเอกสารโดยกำหนดกระบวนการต่างๆ ใน
QM, SP, WI, SD, FM และ JD ที่เกี่ยวข้อง และนำไปปฏิบัติโดยทั่วกันทั้งองค์กร ต้องระบุ
ลำดับขั้นตอนวิธีปฏิบัติ เกณฑ์การควบคุมกระบวนการเหล่านั้นที่ชัดเจนเป็นไปตาม
ข้อกำหนด และให้เกิดประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล คงไว้ซึ่งการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องการชี้บ่งนี้
เราได้จัดทำในรูปแบบของผังการไหล (Flow Chart) "แผนคุณภาพ" SD-PRO-010 ซึ่งได้ลำดับ
ความสัมพันธ์ ของกระบวนการต่างๆ ตามลำดับก่อนหลัง (Output ของกระบวนการหนึ่งจะเป็น
Input ของกระบวนการต่อไปตามลำดับ)
สรุป : ข้อกำหนดนี้เป็นเพียงภาพรวมกว้างๆ ถึงความต้องการของข้อกำหนดต่างๆ
ส่วนในรายละเอียดว่าต้องการอะไรบ้างนั้นจะระบุไว้ในข้อกำหนดต่อๆไป ซึ่งโดยวิธีการ
องค์กรต้องบริหารกระบวนการให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามมาตรฐานนี้
หมายเหตุ1 : กระบวนการที่จำเป็นควรระบุถึงกิจกรรมต่างๆ เช่น การจัดหาทรัพยากร
การก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ การวัดวิเคราะห์/ปรับปรุง
หมายเหตุ2 : กระบวนการจ้างจากแหล่งภายนอก ต้องมีกระบวนการควบคุม และห้ามถ่ายโยนความ
รับผิดชอบให้ผู้รับจ้างช่วง ข้อกำหนดนี้ บริษัทฯ เราได้รับการยกเว้ณ ไม่มีกระบวนการ
รับจ้างช่วงจากแหล่งภายนอก
4.2 ข้อกำหนดด้านเอกสาร
4.2.1 บททั่วไป ข้อนี้เป็นส่วนที่ขยายความจากข้อ 4.1ซึ่งกำหนดให้องค์กรจัดทำเอกสาร
ด้านคุณภาพ ประกอบไปด้วยนโยบายคุณภาพ,วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ,คู่มือคุณภาพ,
SP, WI, SD, FM และ JD รวมถึง เอกสารประกอบที่ใช้อ้างอิงในการทำงานต่างๆ
เพื่อวางแผนการปฏิบัติงาน และควบคุมกระบวนการให้มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
ต้องได้รับการควบคุม และนำไปใช้อย่างทั่วถึง ส่วนรายละเอียดย่อยแต่ละข้อกำหนดจะนำไป
พูดในบทต่อไป
หมายเหตุ1 : เอกสารระเบียบปฏิบัติต้องจัดทำ นำไปใช้ และรักษาไว้ เอกสาร 1 ฉบับ อาจครอบคลุม
ได้หลายข้อกำหนด
หมายเหตุ2 : ระเบียบปฏิบัติแต่ละองค์กรจะแตกต่างกันไป ขึ้นกับปัจจัยต่างๆ เช่น ขนาด ความซับ
ซ้อน ความสามารถขององค์กร ฯลฯ
หมายเหตุ3 : เอกสารที่กล่าวข้างต้นจะอยู่ในรูปแบบของสื่อใดๆ ก็ได้ แต่ต้องมีการควบคุม
การจัดเก็บ/แจกจ่าย และนำไปใช้อย่างทั่วถึง
4.2.2 คู่มือคุณภาพ องค์กรจัดทำ "คู่มือคุณภาพ" QM-QMR-001 จัดทำ นำไปปฏิบัติ
คงรักษาไว้ และมีหลักฐานให้เห็นว่า ได้ปฏิบัติแล้ว คู่มือต้องแสดงถึงขอบเขตของระบบการ
บริหารงานคุณภาพ ระบุว่าครอบคลุมการผลิต/บริการอะไร มีการละเว้นไม่ปฏิบัติในข้อกำหนด
ข้อใด คู่มือคุณภาพควรจะแสดงให้เห็นว่าได้อธิบายระบบโดยรวมของ กระบวนการต่างๆ
มากกว่าที่จะอธิบายตามข้อกำหนด (SP. มีอย่างน้อย 6 ฉบับ)
4.2.3 การควบคุมเอกสาร
4.2.4 การควบคุมบันทึกคุณภาพ
องค์กรจัดทำระเบียบปฏิบัติเรื่อง "การควบคุมเอกสารข้อมูลและการบันทึกคุณภาพ"
SP-DCC-001 มีเนื้อหารวมๆ ดังนี้ ในระเบียบการปฏิบัติ พูดถึงกฎเกณฑ์ในการควบคุม
กำหนดอำนาจหน้าที่ในการทบทวน / แก้ไข และอนุมัติเอกสาร ที่ชัดเจน มีการชี้บ่งเอกสาร
เพื่อกำหนดผู้ถือครอง พิจารณาความจำเป็นถึงจุดแจกจ่ายเอกสาร ควรแจกจ่ายไปจุดใดบ้าง
กำหนดกระบวนการควบคุมเรียกเก็บเอกสารล้าสมัย เพื่อทำลาย เอกสาร/บันทึก ตามระยะเวลา
ที่กำหนด เอกสารที่องค์กรไม่ได้จัดทำขึ้นมาเอง แต่รับเอามาจากภายนอก เพื่อนำมาใช้ใน
ระบบบริหารคุณภาพ เช่น คู่มือการ ใช้เครื่องจักร (ที่แถมมากับเครื่องจักร) แบบวาด, กฎหมาย
ต่างๆ จะต้องได้รับการชี้บ่ง และควบคุมการแจกจ่าย
การจัดเก็บก็ต้องเรียกออกมาใช้ได้ทันที การหาเอกสารไม่เจอ หรือช้ามาก Auditor สามารถ
ให้ CAR ได้ครับ การทำดัชนีต่างๆ สำคัญมาก เอา 5ส เรื่องสะดวกมาช่วยด้วย ในระเบียบนั้น
ก็ต้องพูดถึงกฎเกณฑ์ต่างๆ ประกอบด้วยการชี้บ่ง, การเก็บรักษา, การป้องกัน, การนำไปใช้
และการเรียกคืน, ระยะเวลาการจัดเก็บ และ การทำลาย
บทที่ 4 ระบบบริหารคุณภาพ
4.1 ข้อกำหนดทั่วไป องค์กรต้องจัดทำเอกสารโดยกำหนดกระบวนการต่างๆ ใน
QM, SP, WI, SD, FM และ JD ที่เกี่ยวข้อง และนำไปปฏิบัติโดยทั่วกันทั้งองค์กร ต้องระบุ
ลำดับขั้นตอนวิธีปฏิบัติ เกณฑ์การควบคุมกระบวนการเหล่านั้นที่ชัดเจนเป็นไปตาม
ข้อกำหนด และให้เกิดประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล คงไว้ซึ่งการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องการชี้บ่งนี้
เราได้จัดทำในรูปแบบของผังการไหล (Flow Chart) "แผนคุณภาพ" SD-PRO-010 ซึ่งได้ลำดับ
ความสัมพันธ์ ของกระบวนการต่างๆ ตามลำดับก่อนหลัง (Output ของกระบวนการหนึ่งจะเป็น
Input ของกระบวนการต่อไปตามลำดับ)
สรุป : ข้อกำหนดนี้เป็นเพียงภาพรวมกว้างๆ ถึงความต้องการของข้อกำหนดต่างๆ
ส่วนในรายละเอียดว่าต้องการอะไรบ้างนั้นจะระบุไว้ในข้อกำหนดต่อๆไป ซึ่งโดยวิธีการ
องค์กรต้องบริหารกระบวนการให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตามมาตรฐานนี้
หมายเหตุ1 : กระบวนการที่จำเป็นควรระบุถึงกิจกรรมต่างๆ เช่น การจัดหาทรัพยากร
การก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ การวัดวิเคราะห์/ปรับปรุง
หมายเหตุ2 : กระบวนการจ้างจากแหล่งภายนอก ต้องมีกระบวนการควบคุม และห้ามถ่ายโยนความ
รับผิดชอบให้ผู้รับจ้างช่วง ข้อกำหนดนี้ บริษัทฯ เราได้รับการยกเว้ณ ไม่มีกระบวนการ
รับจ้างช่วงจากแหล่งภายนอก
4.2 ข้อกำหนดด้านเอกสาร
4.2.1 บททั่วไป ข้อนี้เป็นส่วนที่ขยายความจากข้อ 4.1ซึ่งกำหนดให้องค์กรจัดทำเอกสาร
ด้านคุณภาพ ประกอบไปด้วยนโยบายคุณภาพ,วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ,คู่มือคุณภาพ,
SP, WI, SD, FM และ JD รวมถึง เอกสารประกอบที่ใช้อ้างอิงในการทำงานต่างๆ
เพื่อวางแผนการปฏิบัติงาน และควบคุมกระบวนการให้มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
ต้องได้รับการควบคุม และนำไปใช้อย่างทั่วถึง ส่วนรายละเอียดย่อยแต่ละข้อกำหนดจะนำไป
พูดในบทต่อไป
หมายเหตุ1 : เอกสารระเบียบปฏิบัติต้องจัดทำ นำไปใช้ และรักษาไว้ เอกสาร 1 ฉบับ อาจครอบคลุม
ได้หลายข้อกำหนด
หมายเหตุ2 : ระเบียบปฏิบัติแต่ละองค์กรจะแตกต่างกันไป ขึ้นกับปัจจัยต่างๆ เช่น ขนาด ความซับ
ซ้อน ความสามารถขององค์กร ฯลฯ
หมายเหตุ3 : เอกสารที่กล่าวข้างต้นจะอยู่ในรูปแบบของสื่อใดๆ ก็ได้ แต่ต้องมีการควบคุม
การจัดเก็บ/แจกจ่าย และนำไปใช้อย่างทั่วถึง
4.2.2 คู่มือคุณภาพ องค์กรจัดทำ "คู่มือคุณภาพ" QM-QMR-001 จัดทำ นำไปปฏิบัติ
คงรักษาไว้ และมีหลักฐานให้เห็นว่า ได้ปฏิบัติแล้ว คู่มือต้องแสดงถึงขอบเขตของระบบการ
บริหารงานคุณภาพ ระบุว่าครอบคลุมการผลิต/บริการอะไร มีการละเว้นไม่ปฏิบัติในข้อกำหนด
ข้อใด คู่มือคุณภาพควรจะแสดงให้เห็นว่าได้อธิบายระบบโดยรวมของ กระบวนการต่างๆ
มากกว่าที่จะอธิบายตามข้อกำหนด (SP. มีอย่างน้อย 6 ฉบับ)
4.2.3 การควบคุมเอกสาร
4.2.4 การควบคุมบันทึกคุณภาพ
องค์กรจัดทำระเบียบปฏิบัติเรื่อง "การควบคุมเอกสารข้อมูลและการบันทึกคุณภาพ"
SP-DCC-001 มีเนื้อหารวมๆ ดังนี้ ในระเบียบการปฏิบัติ พูดถึงกฎเกณฑ์ในการควบคุม
กำหนดอำนาจหน้าที่ในการทบทวน / แก้ไข และอนุมัติเอกสาร ที่ชัดเจน มีการชี้บ่งเอกสาร
เพื่อกำหนดผู้ถือครอง พิจารณาความจำเป็นถึงจุดแจกจ่ายเอกสาร ควรแจกจ่ายไปจุดใดบ้าง
กำหนดกระบวนการควบคุมเรียกเก็บเอกสารล้าสมัย เพื่อทำลาย เอกสาร/บันทึก ตามระยะเวลา
ที่กำหนด เอกสารที่องค์กรไม่ได้จัดทำขึ้นมาเอง แต่รับเอามาจากภายนอก เพื่อนำมาใช้ใน
ระบบบริหารคุณภาพ เช่น คู่มือการ ใช้เครื่องจักร (ที่แถมมากับเครื่องจักร) แบบวาด, กฎหมาย
ต่างๆ จะต้องได้รับการชี้บ่ง และควบคุมการแจกจ่าย
การจัดเก็บก็ต้องเรียกออกมาใช้ได้ทันที การหาเอกสารไม่เจอ หรือช้ามาก Auditor สามารถ
ให้ CAR ได้ครับ การทำดัชนีต่างๆ สำคัญมาก เอา 5ส เรื่องสะดวกมาช่วยด้วย ในระเบียบนั้น
ก็ต้องพูดถึงกฎเกณฑ์ต่างๆ ประกอบด้วยการชี้บ่ง, การเก็บรักษา, การป้องกัน, การนำไปใช้
และการเรียกคืน, ระยะเวลาการจัดเก็บ และ การทำลาย
สรุปข้อดี ข้อเสีย และประโยชน์ในการจัดทำระบบบริหารคุณภาพ (ISO)
(เป็นความคิดเห็นโดยรวมที่ทุกคนในบริษัทฯ ร่วมแสดงความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบต่อไป)
ข้อดี
1.ทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน งานมีประสิทธิภาพ มีระบบแบบแผนมากขึ้น มีขั้นตอน
การทำงานที่ชัดเจน โดยอ้างอิงการปฏิบัติงานตามผังองค์กรที่วางไว้
2.เมื่อมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นสามารถทวนสอบได้สะดวก รวดเร็ว ชัดเจน การวิเคราะห์หาสาเหตุ
ที่แท้จริงของปัญหาสามารถนำไปสู่การแก้ไขปัญหา/การป้องกันการเกิดซ้ำได้ตรงจุด เนื่องจาก
มีการบันทึกผลการปฏิบัติ งานที่ถูกต้องไว้อย่างชัดเจน ส่งผลให้ระบบการทำงานมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
3.ความผิดพลาดในการทำงานลดน้อยลงเรื่อย ๆ การทำงานง่ายขึ้น เนื่องจากทุกคนมีระเบียบวินัย
ส่งผลให้ต้นทุน การผลิตลดลง ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพมากขึ้น 100% (ทุกคนต้องมีส่วนร่วม “
สำคัญครับผม”)
4.เป็นที่ยอมรับต่อลูกค้า เพราะลูกค้ามีความมั่นใจในผลิตภัณฑ์มากขึ้น บริษัทฯ มียอดขายสูงขึ้น
กำไรมากขึ้น ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถแบ่งปันผลกำไรที่เกิดขึ้น จากความร่วมมือร่วมใจ ของทุก
คนในองค์กร ได้ในหลายรูปแบบตามที่ผู้บริหารสามารที่จะทำได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นทุกคนต้องมีส่วน
ร่วมด้วยความตั้งใจ จริงใจ ใส่ใจ และตระหนัก ในสิ่งที่ตนทำ รวมถึงมีใจรักในงานทีทำ
5.ระบบงานมีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งก็มีผลมาจากทุกคนมีส่วนร่วม เมื่อทุกคน
มีส่วนร่วมระบบ งานบริการคุณภาพมันก็จะมุ่งเดินหน้าต่อไปในทางที่ดีขึ้นไปเรื่อยๆ อย่างไม่มี
ที่จบสิ้น
6.สิ่งหนึ่งที่ระบบบริหารงานคุณภาพจะพัฒนาต่อไปได้ ก็คือ ตระหนักไว้ซึ่ง การประชุมแบบ 3 มิติ
เมื่อเปิดใจกว้างก็พบทางแห่งปัญญา)“คงจำกันได้นะครับผม”
ข้อเสีย
1.ค่าใช้จ่ายในการทำระบบสูง สิ้นเปลืองวัสดุในการบันทึก
2.มีความล่าช้าเพราะต้องรอเอกสารตามระบบที่วางไว้ (ผังองค์กร)
3.มีการบันทึกเอกสารมากเกินไป ยุ่งยากต่อการทำงาน พนักงานเบื่อหน่ายต่อการทำงาน
และพนักงานส่วนน้อยไม่ นำระบบไปใช้ตามที่ระบบได้วางไว้ ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งเพราะมี
ความเห็นไม่ตรงกัน(KPIการใช้กำลังคน ) บริหารตัวเองบ้าง เมื่อบริหารตัวเองเป็นแล้ว การบันทึก
เอกสารก็จะเป็นเรื่องง่าย ๆๆๆๆๆๆๆๆๆ)ประโยชน์ ท้ายนี้ขอสรุปว่า ประโยชน์ของการทำระบบ ISO
นั้นมีมากมายซึ่งขึ้นอยู่กับทุกคนว่าจะเปิดใจยอมรับ เมื่อทุกคนเปิดใจยอมรับ ปัญหาทั้งหลายทั้ง
ปวงก็จะถูกแก้ไขได้โดยมีเหตุและมีผล (ความสุขอยู่ตรงนี้แหละครับผม) เหตุและผลแก้ไขด้วย
ปัญญา สุขใจแน่นอนครับผม
ตัวแทนฝ่ายบริหารคุณภาพ
บุญยิ่ง ต้นแก้ว
ข้อดี
1.ทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงาน งานมีประสิทธิภาพ มีระบบแบบแผนมากขึ้น มีขั้นตอน
การทำงานที่ชัดเจน โดยอ้างอิงการปฏิบัติงานตามผังองค์กรที่วางไว้
2.เมื่อมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นสามารถทวนสอบได้สะดวก รวดเร็ว ชัดเจน การวิเคราะห์หาสาเหตุ
ที่แท้จริงของปัญหาสามารถนำไปสู่การแก้ไขปัญหา/การป้องกันการเกิดซ้ำได้ตรงจุด เนื่องจาก
มีการบันทึกผลการปฏิบัติ งานที่ถูกต้องไว้อย่างชัดเจน ส่งผลให้ระบบการทำงานมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
3.ความผิดพลาดในการทำงานลดน้อยลงเรื่อย ๆ การทำงานง่ายขึ้น เนื่องจากทุกคนมีระเบียบวินัย
ส่งผลให้ต้นทุน การผลิตลดลง ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพมากขึ้น 100% (ทุกคนต้องมีส่วนร่วม “
สำคัญครับผม”)
4.เป็นที่ยอมรับต่อลูกค้า เพราะลูกค้ามีความมั่นใจในผลิตภัณฑ์มากขึ้น บริษัทฯ มียอดขายสูงขึ้น
กำไรมากขึ้น ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถแบ่งปันผลกำไรที่เกิดขึ้น จากความร่วมมือร่วมใจ ของทุก
คนในองค์กร ได้ในหลายรูปแบบตามที่ผู้บริหารสามารที่จะทำได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นทุกคนต้องมีส่วน
ร่วมด้วยความตั้งใจ จริงใจ ใส่ใจ และตระหนัก ในสิ่งที่ตนทำ รวมถึงมีใจรักในงานทีทำ
5.ระบบงานมีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งก็มีผลมาจากทุกคนมีส่วนร่วม เมื่อทุกคน
มีส่วนร่วมระบบ งานบริการคุณภาพมันก็จะมุ่งเดินหน้าต่อไปในทางที่ดีขึ้นไปเรื่อยๆ อย่างไม่มี
ที่จบสิ้น
6.สิ่งหนึ่งที่ระบบบริหารงานคุณภาพจะพัฒนาต่อไปได้ ก็คือ ตระหนักไว้ซึ่ง การประชุมแบบ 3 มิติ
เมื่อเปิดใจกว้างก็พบทางแห่งปัญญา)“คงจำกันได้นะครับผม”
ข้อเสีย
1.ค่าใช้จ่ายในการทำระบบสูง สิ้นเปลืองวัสดุในการบันทึก
2.มีความล่าช้าเพราะต้องรอเอกสารตามระบบที่วางไว้ (ผังองค์กร)
3.มีการบันทึกเอกสารมากเกินไป ยุ่งยากต่อการทำงาน พนักงานเบื่อหน่ายต่อการทำงาน
และพนักงานส่วนน้อยไม่ นำระบบไปใช้ตามที่ระบบได้วางไว้ ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งเพราะมี
ความเห็นไม่ตรงกัน(KPIการใช้กำลังคน ) บริหารตัวเองบ้าง เมื่อบริหารตัวเองเป็นแล้ว การบันทึก
เอกสารก็จะเป็นเรื่องง่าย ๆๆๆๆๆๆๆๆๆ)ประโยชน์ ท้ายนี้ขอสรุปว่า ประโยชน์ของการทำระบบ ISO
นั้นมีมากมายซึ่งขึ้นอยู่กับทุกคนว่าจะเปิดใจยอมรับ เมื่อทุกคนเปิดใจยอมรับ ปัญหาทั้งหลายทั้ง
ปวงก็จะถูกแก้ไขได้โดยมีเหตุและมีผล (ความสุขอยู่ตรงนี้แหละครับผม) เหตุและผลแก้ไขด้วย
ปัญญา สุขใจแน่นอนครับผม
ตัวแทนฝ่ายบริหารคุณภาพ
บุญยิ่ง ต้นแก้ว
วันเสาร์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2555
หลักการบริหารคุณภาพ 8 ประการ
ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2008
*..* นโยบายคุณภาพ "บริษัท เวิลด์ไวด์ สตีล บอลล์ จำกัด"
"เรามุ่งมั่นผลิต และส่งมอบสินค้าที่มีคุณภาพ ตามข้อกำหนดมาตรฐานสากล
ให้บริการที่ประทับใจ เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้าคงคุณค่า และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง"
จากนโยบายเช่น
ฝ่ายผลิต ผลิตลูกปืนเม็ดกลม ต้องมีคุณภาพไม่เกิดการสูญเสีย ไม่เกิด NC ถ้าเกิดต้องเขียน NC
ฝ่ายบริการ การส่งมอบ ตรงต่อเวลา พูดจาสุภาพ เช่น หลังส่งมอบ กล่าว ขอบคุณที่ใช้บริการของ
บริษัทฯ ครับ
*..* หลักการบริหารงานคุณภาพ 8 ประการ *..*
1. เน้นที่ลูกค้า รู้ เข้าใจความต้องการของลูกค้า โดยฝ่ายขาย รับข้อตกลง ศึกษาความต้องการ
ของลูกค้าเพื่อเป็นแนวทางที่จะกำหนดแผนการผลิตให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามข้อกำหนด
2. ความเป็นผู้นำ ทุกคนเป็นผู้นำได้ สิ่งแรกคือนำตนเอง พบ NC แจ้งหัวหน้า เขียน NC เป็นต้น
ตั้งเป้าหมาย การทำงานเช่น นาย A กำหนดเป้าหมายว่าใน 1 วันทำงาน จะปฏิบัติงานตามกฎ
ระเบรียบ WI ที่กำหนด เพื่อให้ได้ ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพตามข้อกำหนดของลูกค้า ดังนั้น
การทำงานก็ยึดหลัก WI(ทำก่อนเพื่อเป็นตัวอย่างที่ดี) เป้าหมาย QMR.มุ่งมั่นให้ทุกคนในองค์กร
ตระหนัก และเข้าใจระบบบริหารงานคุณภาพต้องเป็นแบบอย่างที่ดี)
3. บุคคลากรมีส่วนร่วม ทุกคนมีหน้าที่หลักคือผลิตลูกปืนให้มีคุณภาพตามที่กำหนด เพื่อสร้าง
ความพึงพอใจของลูกค้า เปรียบทุกคนคือหัวใจขององค์กร คนใดคนหนึ่งไม่ปฏิบัติตาม WI
ลูกปืนจะออกมาดีได้อย่างไร
4. มุ่งเน้นกระบวนการ มองทุกกิจกรรมในรูปแบบกระบวนการ ต้องไม่โทษที่ตัวบุคคล เช่น
ลูกค้าคืนสินค้าต้องมองย้อนกระบวนการตั้งแต่ ขนส่ง,จัดสินค้า,QC,ขัด,โม่,ตอก หาสาเหตุ
เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงระบบ
5. การบริหารเป็นระบบ ทุกกระบวนการมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มองทุกแผนกรวมเป็นระบบ
เดียวกัน เช่น Outputของแผนกรีดลวด จะกลายเป็น Inputของแผนกตอก Outputไม่ดี Inputจะดี
ได้อย่างไรเป็นต้น
6. การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงระบบการทำงานเพื่อให้ทันสมัยง่ายต่อการปฏิบัติงาน
มีประโยคหนึ่งที่น่าสน “เพียงแค่คุณหยุดเดิน ก็เท่ากับคุณได้เดินถอยหลังแล้ว”
เราหยุดคนอื่นเดินลองคิดดูครับ
7. ตัดสินใจบนพื้นฐานคววมเป็นจริง ข้อมูลที่นำมาตัดสินใจนั้นต้องเป็นข้อเท็จจริง มันจะช่วย “
ลดความผิด พลาดได้มาก"เช่น การวิเคราะ NC ผิด จะเกิดอะไรขึ้น แก้ไขไม่ตรงประเด็น
มีโอกาสเกิด NC ซ้ำแก้ไม่จบ
8. ความสัมพันธ์กับผู้ขายเพื่อประโยชน์ร่วมกัน ต้องคัดเลือกผู้ส่งมอบโดยทำการประเมิน
และควบคุมคุณภาพพูดคุย ปรึกษากันผลิตภัณฑ์ย่อมออกมาดี
นิยามของคำว่าคุณภาพ
*..* คุณภาพ *..*
คุณภาพ หมายถึง คุณสมบัติทุกประการของผลิตภัณฑ์/บริการ ที่ตอบสนองความต้องการ
และสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า
คุณภาพ : ด้านผลิตภัณฑ์ เช่น ลูกปืนเม็ดกลม ผิวเรียบ เงา ตามข้อตกลงกับลูกค้า เป็นต้น
คุณภาพ : ด้านบริการ เช่น ส่งของตรงเวลา, พูดจาสุภาพนอบน้อม แต่งกายเรียบร้อย เป็นต้น
กระบวนการสำคัญในการธำรงรักษาไว้ซึ่งระบบบริหารงานคุณภาพ นั่นคือ
กระบวนการตรวจประเมินคุณภาพภายใน (IQA)
"คุณภาพ มิได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ แต่เกิดขึ้นจากความพยายามที่ชาญฉลาด" เมื่อกระบวนการดี ผลลัพธ์ที่ออกมาก็จะดีตามไปด้วย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)